การพัฒนานวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้าต่ออุณหภูมิร่างกายในทารกเกิดก่อนกำาหนด

ผู้แต่ง

  • วนิสา หะยีเซะ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
  • ฮาบิบ บิณอะฮมัด
  • นุรไอดา ซอและ
  • พอตีเมาะ อาแว
  • ฟัตฮียะห์ มะเซ็ง
  • ฟาซียะห์ ยามาโก
  • มุสลีมะห์ หมันหลิน
  • มูนีเราะห์ เวาะสะ
  • รูซีตา เจ๊ะปูเต๊ะ
  • วรัญญา ขุนนุรักษ์
  • วารีซัน เจ๊ะโซ๊ะ
  • อฟัฟ อาแด

คำสำคัญ:

นวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้า, อุณหภูมิกาย, ทารกเกิดก่อนกำาหนด

บทคัดย่อ

     การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลองเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยอุณหภูมิร่างกายทารกแรกรับที่ใช้นวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้ากับค่าเฉลี่ยอุณหภูมิร่างกายแรกรับที่หอผู้ป่วยบันทึกไว้ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ ทารกเกิดก่อนกำาหนดแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มควบคุมจำานวน 10 ราย และกลุ่มทดลองจำานวน 10 ราย และพยาบาลวิชาชีพจำานวน 10 ราย ปฏิบัติงาน ณ หอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤต นวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้าที่นักวิจัยพัฒนาขึ้น ผ่านการตรวจสอบและแก้ไขจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำานวน 3 ท่าน ในส่วนเครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกอุณหภูมิร่างกายแรกรับของทารกและแบบสอบถามความพึงพอใจการใช้นวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้า ได้ค่าดัชนีความตรงของเครื่องมือมากกว่า0.5 ทุกข้อ และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาคเท่ากับ 0.8 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนาและการทดสอบแมน วิท นีย์ยู เทส

     ผลการวิจัยพบว่า อุณหภูมิร่างกายแรกรับของทารกเกิดก่อนกำาหนดที่ใช้นวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้า สูงกว่าอุณหภูมิร่างกายแรกรับที่หอผู้ป่วยบันทึกไว้ อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (Z = -3.341, P<0.01) และผลคะแนนความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.27 คะแนน (S.D. = 0.46) การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า นวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้าสามารถนำามาประยุกต์ใช้ในควบคุมอุณหภูมิร่างกายทารกเกิดก่อนกำาหนดได้ ทำาให้ลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จากภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำาในขณะส่งต่อทารกระหว่างหอผู้ป่วย

References

Ali, R., Mirza, R., Qadir, M., Ahmed, S., Bhatti, Z. & Demas, S. (2012). Neonatal hypothermia among hospitalized
high risk newborns in a developing country. Pakistan Journal of Medical Sciences, 28(1), 49-53.

Boonya-Apichart, C., Vichitsukon, K., & Sithichai, K. (2010). The effect of nest on body Temperature on Low birth Weight Newborns. Siriraj Medical Journal, 1(2), 1-10.

Enerback, S. (2010). Brown adipose tissue in humans. International Journal of Obesity, 34(S1), S43-S6.

Hayeese, W., Wangsawat, T. & Chaimongkol, N. (2014). The effect to Maternal-Infant Attachment towards
Growth of Preterm Infants In Neonatal Intensive Care Unit of the Naradhiwas Rajanagarindra Hospital. Princess of Naradhiwas University Journal, 6(3), 13-23.

Hayeese, W., Damklia, W. & Manukul, L. (2018). Innovation Diaper “Pa Teaw Sai Deaw” in preterm Infant. Princess of Naradhiwas University Journal, 10(1), 77-87.

Janthamongkul, K. (2013). Newborn Nursing. (8th ed). Samut Prakan : Huachiew Chalermprakiet University Press.
Kagtamneam, K. (2011). Nursing Innovation. Journal of Phrapokklao Nursing College, 22(2), 71-79.

Lang N, Bromiker R. & Arad I. (2004). The effect of wool vs. cotton head covering and length of stay with
the mother following delivery on infant temperature. International Journal of Nursing Studies, 41(8), 843-846.

Leehuahuad, J., Phahuwatanakorn, W., & Serisathien, Y. (2013). Impact of Thermal Insulated Jackets on
normal Neworns’Body Temperatures. Thai Journal of Nursing Council, 28(4), 5-15.

Limrungsikul, A., & Pongmee, P. (2016). Textbook of Neonatal Resuscitation. Bangkok: Thai Neonatal Society.

Mance MJ. (2008). Keeping infants warm: challenges of hypothermia. Advances in Neonatal Care, 8(1), 6-12.

Ministry of Public Health. (2016). Public Health Statistics A.D.2016. Bangkok: Strategy and Planning Division.

Promkeawngam, J., Jintrawet, U., & Soontornchai, P. (2011). Kangaroo Care Practiced for Pretrem Infant by
Nurse Including Relative Factors. Nursing Journal, 38(3), 42-60.

Punyavachira, P., & Yoorat, Y. (2016). The effect of skin to skin Maternal Contact on body Temperature and
Oxygen Saturation of Term Newborn in the Delively Room, Ramathibodi Hospital. Journal of Public Health, 46(1), 82-94.

Punthmatharith, B. (2012). Nursing care of Acute and Chronically. Songkhal: Chanmung.

Sangsawang, R., Punthmatharith, B., & Prateepchaikul, L. (2010). Effect of kangaroo care on Father-Premature
Infant Bonding. Thai Journal of Nursing Council, 25(2), 100-110.

Samugjung, A. (2016). Practice guidelines for prevention of hypothermia among newborn patients. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 3(1), 60-76.

Sodsuk, K., Pookboonmee, R., & Daramas, T. (2011). Clinical Nursing Practice Guideline for Hypothermia Prevention in Preterm Infants by Using Plastic Wrap under a Radiant Warmer. Ramathibodi Nursing Journal, 17(2), 191 – 202.

Wannachad, J. (2011). Preterm Nursing. Journal of Phrapokklao Nursing College, 22(1), 83-90.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2018-05-08

How to Cite

หะยีเซะ ว., บิณอะฮมัด ฮ., ซอและ น., อาแว พ., มะเซ็ง ฟ., ยามาโก ฟ., หมันหลิน ม., เวาะสะ ม., เจ๊ะปูเต๊ะ ร., ขุนนุรักษ์ ว., เจ๊ะโซ๊ะ ว., & อาแด อ. (2018). การพัฒนานวัตกรรมผ้าห่มไฟฟ้าต่ออุณหภูมิร่างกายในทารกเกิดก่อนกำาหนด. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 10(2), 1–12. สืบค้น จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pnujr/article/view/122741