ผลกระทบของกรรมวิธีการเชื่อมทิกประสิทธิภาพสูงโดยใช้แก๊สแอคทีฟเป็นแก๊สปกคลุมต่อรูปร่างของแนวเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิม 304

Authors

  • ประภาศ เมืองจันทร์บุรี
  • มูหามัด เต๊ะยอ
  • จรัญ ธรรมใจ

Keywords:

กรรมวิธีการเชื่อมทิก, แอคทีฟแก๊ส, แก๊สปกคลุมสองชั้น

Abstract

ในงานวิ จั ยนี้ ศึ กษาผลกระทบของแนวเ ชื่ อมที่ ได้ จากการเ ชื่ อมทิ กประสิ ทธิ ภาพสู งโดยใช้ แก๊ สแอคที ฟเ ป็ นแก๊ ส
ปกคลุมเพื่อเชื่อมรอยต่อชนท่าราบเหล็กกล้าไร้สนิมออสตินิติก     เกรด     304     โดยทำาการออกแบบชุดหัวเชื่อมระบบน๊อตเซิลสองชั้น    
และศึกษาผลการเชื่อมด้วยกระบวนการเชื่อมแบบไม่เติมเนื้อเชื่อม     (Autogeneous)     โดยมีตัวแปรที่ศึกษาคือ     อัตราการไหล
ของแก๊สปกคลุมชั้นในซึ่งเป็นแก๊สอาร์กอน     และอัตราการไหลของแก๊สปกคลุมชั้นนอกซึ่งเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์     มีอัตรา
การไหลของแก๊สปกคลุมชั้นในต่อแก๊สปกคลุมชั้นนอก     (Ar/CO)     ในปริมาณที่แตกต่างกัน     ได้แก่     3/9,     4/8,     5/7     ลิตรต่อนาที    
เปรียบเทียบกับการเชื่อมทิกแบบธรรมดา     (Conventional)     ที่อัตราการไหลของแก๊สอาร์กอนปกคลุม     12     ลิตรต่อนาที     โดยมี
ตัวแปรคงที่คือ    กระแสเชื่อม    DCEN    150    แอมแปร์    ความเร็วเดินเชื่อม    100    มิลลิเมตรต่อนาที    และระยะอาร์ค    3    มิลลิเมตร    หลัง
จากการทดลองเชื่อมนำาแนวเชื่อมที่ได้มาวิเคราะห์โครงสร้างมหภาค     ได้แก่     สัดส่วนการหลอมละลายลึก     (D/W)     และโครงสร้าง
จุลภาค     จากการทดลองพบว่าในการเชื่อมระบบแก๊สปกคลุมสองชั้น     เมื่อใช้อัตราการไหลของแก๊สปกคลุมน้อยสุด     และอัตรา
การไหลของแก๊สปกคลุมชั้นนอกสูงสุด    (Ar/CO2    =    3/9    ลิตรต่อนาที)    ให้ค่าสัดส่วนการหลอมละลายลึกเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ    0.31    
เมื่อเทียบกับทุกสภาวะการเชื่อม    สำาหรับโครงสร้างจุลภาคของเนื้อเชื่อมมีลักษณะเป็นแบบ    skeletal    δ-ferrite    dendritic

Downloads

How to Cite

เมืองจันทร์บุรี ป., เต๊ะยอ ม., & ธรรมใจ จ. (2017). ผลกระทบของกรรมวิธีการเชื่อมทิกประสิทธิภาพสูงโดยใช้แก๊สแอคทีฟเป็นแก๊สปกคลุมต่อรูปร่างของแนวเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิม 304. Princess of Naradhiwas University Journal, 9(1), 112–125. Retrieved from https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pnujr/article/view/76043