ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความรู้และบทบาทของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็ก โรคหัวใจพิการแต่กำาเนิดอายุ 0-3 ป

ผู้แต่ง

  • Tidarat Wangsawat
  • Anong Phiban
  • Prasert Piboonrungroj
  • Wanisa Hayeese
  • Sawinee Chansintop
  • Nurdeenee Dereh
  • Nirusnee A-Kaji

คำสำคัญ:

ระบบสนับสนุนและให้ความรู้, ผู้ดูแล, ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำาเนิด

บทคัดย่อ

      การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ความรู้ตามแนวคิดการพยาบาลแบบสนับสนุน
และให้ความรู้ ต่อความรู้และบทบาทในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำาเนิดอายุ 0 - 3 ปี ที่เข้ารับการรักษาในตึกผู้ป่วยนอก
โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำานวน 24 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและควบคุม
กลุ่มละ 12 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการให้ความรู้ภายใต้แนวคิดระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ ส่วน
กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ดำาเนินการวิจัย คือ โปรแกรมการให้ความรู้และคู่มือการดูแลผู้ป่วย
เด็กโรคหัวใจพิการแต่กำาเนิดอายุ 0 - 3 ปี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความรู้ มีค่าความยากง่ายเท่ากับ .76 และ
แบบสอบถามบทบาทในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำาเนิด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ
พรรณนาและสถิติที

      ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้มากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (t = 4.92,
p < .001) และมีความรู้หลังได้รับโปรแกรมสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่าง มีนัยสำาคัญทางสถิติ (t = 2.81, p < .01) รวมทั้งกลุ่ม
ทดลองมีคะแนนบทบาทในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำาเนิดมากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
(t = 4.43, p < .001) แต่ไม่มีความแตกต่างของคะแนนบทบาทในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำาเนิดระหว่างกลุ่ม
ทดลองและกลุ่มควบคุม

      แนวคิดระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ เป็นแนวทางที่ทีมสุขภาพควรนำามาใช้ในการให้ความรู้แก่
ผู้ดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้และให้การดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำาเนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

Azhar, A.S., Zaher Z.F., Abu-Ouf N.M., Al-Ata J., & Alsheblie S.A. (2017). Determinants of successful medical education of caregivers of children with congenital heart disease. Journal of the Saudi Heart Association, 30(1), 28–39. Retriveved from http://dx.doi.org/10.1016/j.jsha.2017.03.006.

Chuambangphae, C., & Tangkiratichai, S. (2013). Effectiveness of two - phase - discharge plan program for children undergoing open heart surgery upon parental care practice and continuing care management. Mahasarakham Hospital Journal, 10(3), 22 - 30.

Chunpetch, A., Sivadamrongpong, W., & Yeepaloh, M. (2014). Beliefs about foods and food preparation experiences for childhood with malnutrition of native Muslim mothers living in Yala province. Journal of nursing and Education, 7(3), 24 - 34.

Chaweethamawat, A., Kongsaktrakul, C., & Kaveevivitchai, C. (2012). Development of computer - assisted instruction on knowledge of congenital heart disease for school-aged children with congenital heart disease. Kuakarun Journal of Nursing, 19(2), 118 - 134.

Edraki, M., Kamali, M., Beheshtipour, N., Amoozgar, H., Zare, N., & Nontaseri, S. (2014). The effect of educational program on the quality of life and self efficacy of the mothers of the infants with congenital heart disease. International Journal of Community Based Nursing & Midwifery, 2(1), 51 - 59.

Keawvichit, N., & Thajeen, K. (2007). Knowledge and the parental role in caring for children with heart disease. Songklanagarind Medical Journal, 25(4), 273 - 282.

Koon-aree, S., Pukdeepin, P., & Sangmanee, W. (2015). Effect of information education via a comic book on anxiety of school - aged children undergoing a cardiac catheterization. Songklanagarind Journal of Nursing, 35(2), 129 - 141.

Mari M.A., Cascudo M.M., & Alchieri J.C. (2016). Congenital heart disease and Impacts on child development. Brazilian Journal of Cardiovascular Surgery, 31(1), 31 - 37.

Nousi, D., & Christou, A. (2010). Factors affecting the quality of life in children with congenital heart disease. Health Science Journal, 4(2), 94 - 100.

Payomhom, C., Seeda R., & Wichiencharoen, K. (2013). The effect of education program on maternal care for children with congenital heart disease undergone post open - heart surgery. Thai Journal of Cardio - Thoracic Nursing, 24(1), 31 - 43.

Phromreungrit, K., Jintrawet, U., & Chotibang, J. (2015). Caregiving and related factors among caregivers of children with congenital heart disease. Nursing Journal, 42, 35 - 45.

Orem, D.E. (2001). Nursing: concept of practice (6th ed.). St. Louis: Mosby year book Srichantaranit, A., & Chontawan, R. (2011). Caring for infants with congenital heart disease prior to Cardiac Surgery: the impacts on families. Journal of Nursing Science, 29(2), 7 - 18.

Songthip, S., Sanasuttipun W., & Srichantaranit, A. (2015). The effects of supportive – education nursing system program on knowledge and behaviors of mothers of children with acyanotic congenital heart disease aged 0 - 2 years. Thai Journal of Cardio - Thoracic Nursing, 26(2), 25 - 38.

Triedman, J.K., & Newberger, J.W. (2016). Trends in congenital heart disease the next decade. Circulation, 133, 2716 - 2733. Retriveved from http://ahajournals.org

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-05-07