พฤติกรรมการแสวงหาสุขภาพโดยการบริโภคสมุนไพรไทยของผู้สูงอายุใน สถานการณ์ระบาดของโรค COVID - 19 จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้แต่ง

  • พนิดา บุญคงทอง สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • ศศิธร ธนะภพ สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการแสวงหาสุขภาพ, ผู้สูงอายุ, สมุนไพรไทย, โควิด - 19

บทคัดย่อ

การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณาโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริมกับพฤติกรรมการแสวงหาสุขภาพโดยการบริโภคสมุนไพรไทยของผู้สูงอายุในสถานการณ์ระบาดโรค COVID - 19 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นการศึกษาเชิงพรรณาแบบภาคตัดขวาง เก็บข้อมูลในผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม จำนวน 367 ราย ระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน 2566 ด้วยแบบสอบถาม มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา 0.67 - 1.00 ค่าความเชื่อมั่น 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 63.76 อายุ 60 - 69 ปี ร้อยละ 57.76 ไม่มีประวัติโรคประจำตัว ร้อยละ 63.76 จบชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 63.21 มีคู่สมรส ร้อยละ65.12 มีประสบการณ์การใช้สมุนไพร ร้อยละ 76.29 มีความรู้ในการบริโภคสมุนไพรไทยระดับมาก ร้อยละ 79.84 ทัศนคติระดับปานกลาง ร้อยละ 50.69 การรับรู้ประโยชน์ระดับมาก ร้อยละ 59.67 พฤติกรรมการแสวงหาสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 46.05 ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริมมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการแสวงหาสุขภาพโดยการบริโภคสมุนไพรของผู้สูงอายุ จากผลการวิจัย ผู้สูงอายุจึงควรได้รับความรู้ในการบริโภคสมุนไพรไทยอย่างถูกต้องจากครอบครัว และหน่วยงานสาธารณสุขในชุมชนเพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพ ในกรณีที่มีข้อจำกัดการเข้าถึงบริการสุขภาพหลังจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อ

References

Anekpunyakul, P., Sirilak, S., & Damee, P. (2020). Herbal Use Behavior in Health Care among the People in Receiving Service at Naresuan University Hospital. CUAST Journal, 9(2) 76 – 90. https://www.council-uast.com/journal/journal-detail.php?id=30

Chaichompoo, S., Shuaytong, P., Waseeweerasi, W., & Sonkosum, S. (2021). Factors Related with People’s Behavior Towards Using Medical Herbs for Illness Treatments among People in Region 11, Ministry of Public Health. Kuakarun Journal of Nursing, 19(2) 60 - 74. http://chdkkujournal.com/demo/count.php?a=828

Chaiseng, S., & Techamanon, S. (2017). Perception and intention to use herbal product of elderly [Master’s thesis]. Mahidol University.

Daniel, & Wayne, W. (1995). Biostatistics: A Foundation for Analysis in the Health Sciences USA. Wiley.

Department of older persons. (2023, December 8). Elderly statistics. https://dop.go.th/download/knowledge/th1551432930-155_0.pdf.

Green, L.W., & Kreuter, M.W. (2005). Health program planning: An educational and ecological approach (4th ed). Emily Barrosse.

Intajak, T. (2021). Herbal Used Behavior of People in Mueang District (Research Report). Chiang Mai Rajabhat University.

Khadka, S., Shrestha, O., Koirala, G. , Acharya, U., & Adhikari, G. (2022). Health seeking behavior and self-medication practice among undergraduate medical students of a teaching hospital: A cross-sectional study. Annals of Medicine and Surgery, 78, (1-7). http://doi.org/10.1016/j.amsu.2022.103776

Ladpum, N. (2023, March 15). Public health. support Driving the Surat Thani Herbal City project. https://thailand.go.th/issue-focus-detail/001_07_016-2-2

Lawrence, W., Green, & Marshall, W. K. (2005). Health Promotion Planning: An Educational and Ecological Approach. (4th ed). McGraw-Hill.

Lekpitaya, N. (2021, December 8). Favipiravir.Rama RDU (41). www.rama.mahidol.ac.th/atrama/issue041/rama-rdu.

Lertvilairattanapong, C. (2023). Policy to promote the use of herbal medicines in place of modern medicines in the health service system (editor). DTAM news.

Notification of the Distribution Committee to Local Administrative Organizations. (2021). Royal gazette. https://www.royalgazette.com/

Tanasiri, C. (2022). Situation of the thai older persons2021. (Research Report). Mahidol University,

Thansettakij. (2021, November 21). herbs of Covid-19. https://www.thansettakij.com/business/490962.

Vajragupta, Y., & Jitsuchon, S. (2020, December 8). Socio-Economic Impact Assessment of COVID-19 in Thailand. https://tdri.or.th/2020/09/the-impact-of-covid-19-on-older-persons.

Vichasilp, K., Phromket, C., Wetvitan, P., & Vichasilp, C. (2016). Perception of herbal treatments of northeastern consumers of Thailand. Khon Kaen Agriculture Journal, 44(1). 565 – 570. https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=P033%20Eco05.pdf&id=2307&keeptrack=1

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-01-15

How to Cite

บุญคงทอง พ., ธนะภพ ศ., & สายสนั่น ณ อยุธยา ว. (2025). พฤติกรรมการแสวงหาสุขภาพโดยการบริโภคสมุนไพรไทยของผู้สูงอายุใน สถานการณ์ระบาดของโรค COVID - 19 จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 17(1), 315–330. สืบค้น จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pnujr/article/view/261780