ประสบการณ์ได้รับการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล และการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวในหญิงที่เป็นเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์

อัจฉโรบล แสงประเสริฐ

ผู้แต่ง

  • บุญสืบ โสโสม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • วิลาสินี บุตรศรี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • อัจฉโรบล แสงประเสริฐ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • ตรีชฎา ปุ่นสำเริง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • จุฬารัตน์ ห้าวหาญ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • บำเพ็ญ คำดี สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • พรทิพา ศุภราศรี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • สุเพียร โภคทิพย์ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ดร.สุเพียร
  • ปราชญาวดี ยมานันตกุล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • พนิดา รัตนพรหม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

คำสำคัญ:

เบาหวานในระยะตั้งครรภ์, ความรอบรู้ทางสุขภาพ, การควบคุมน้ำตาล, การเพิ่มของน้ำหนัก, การศึกษาเชิงคุณภาพ

บทคัดย่อ

การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ได้รับการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล และการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวในหญิงที่เป็นเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์ ศึกษา ณ โรงพยาบาลทั่วไปที่มีขนาดใหญ่ 5 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนขนาด 120 เตียงขึ้นไป 2 แห่ง และโรงพยาบาลชุมชนขนาด 60 - 120 เตียง 2 แห่ง รวม 10 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ หญิงที่เป็นเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์ 29 คน และผู้ให้ข้อมูลรองคือ พยาบาลวิชาชีพ 9 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบรวบรวมข้อมูลทั่วไป 2) แนวคำถามกึ่งโครงสร้างสัมภาษณ์เชิงลึกที่สร้างคำถามตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา และแนวคิดการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ นำไปทดลองถามกับหญิงตั้งครรภ์ 3 คน จากนั้นปรับภาษาให้เข้าใจง่าย

ข้อค้นพบคือ ผู้ให้ข้อมูลหลักทุกคนมีความวิตกกังวล กลัว จึงต้องการให้ตนเองและทารกในครรภ์ปลอดภัย มีรูปแบบของประสบการณ์ จำแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่1) จำความรู้ได้ไม่หมด ไม่ค้นหาความรู้เพิ่มเติม และนำความรู้ไปใช้ไม่ได้ กลุ่มที่ 2) จำคำแนะนำ และตัวเลขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ แต่ปรับตัวกับการรับประทานอาหารแบบใหม่ยังไม่ได้ กลุ่มที่ 3) จำตัวเลข ชนิดอาหาร และคำนวณแคลอรี่ได้ และสืบค้นความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองได้

ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ผู้ให้บริการสุขภาพควรมีความไวต่อการค้นหารูปแบบประสบการณ์เกี่ยวกับการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพเพื่อจัดการให้หญิงที่เป็นเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวได้เร็วขึ้นมากกว่าเดิม

References

Bandyopadhyay, M. (2021). Gestational diabetes mellitus: a qualitative study of lived experiences of South Asian immigrant women and perspectives of their health care providers in Melbourne, Australia. BMC Pregnancy and Childbirth, 21, 500. https://bmcpregnancychildbirth. biomedcentral.com/articles/10.1186/s12884-021-03981-5

Harrison, R. K., Saravanan, V., Davitt, C., Cruz, M., & Palatnik, A. (2022). Antenatal maternal hypoglycemia in women with gestational diabetes mellitus and neonatal outcomes. Journal of Perinatology, 42(8), 1091 - 1096. https://doi.org/10.1038/s41372-022-01350-4

He, J., Chen, X., Wang, Y., Liu, Y., & Bai, J. (2021). The experiences of pregnant women with gestational diabetes mellitus: a systematic review of qualitative evidence. In Casanueva, F.F. (Ed.) Reviews in Endocrine and Metabolic Disorders. (PP. 1 – 11). Hybrid Publishing model.

He, J., Hu, K., Wang, B., & Wang, H. (2023). Effects of women with gestational diabetes mellitus related weight gain on pregnancy outcomes and its experiences in weight management programs: a mixed-methods systematic review. Frontiers in Endocrinology, 14, 1247604. https://doi.org/10.3389/fendo.2023.1247604

Liu, C., Wang, D., Liu, C., Jiang, J., Wang, X., Chen, H., Ju, X., & Zhang, X. (2020). What is the meaning of health literacy? A systematic review and qualitative synthesis. Family medicine and community health, 8(2), e000351. http://doi.org/10.1136/fmch-2020-000351

Martis, R., Brown, J., McAra-Couper J., & Crowther, C. A. (2018). Enablers and barriers for women with gestational diabetes mellitus to achieve optimal glycemic control–a qualitative study using the theoretical domains framework. BMC Pregnancy and Childbirth, 18(1), 1 - 22. https://doi.org/10.1186/s12884-018-1710-8

McKenzie-Sampson, S., Paradis, G., Healy-Profitós, J., St-Pierre, F., & Auger, N. (2018). Gestational diabetes and risk of cardiovascular disease up to 25 years after pregnancy: a retrospective cohort study. Acta Diabetological, 55(4), 315 – 322. https://doi.org/10.1007/s00592-017-1099-2

Muche, A. A., Olayemi, O. O., & Gete, Y. K. (2020). Effects of gestational diabetes mellitus on risk f adverse maternal outcomes: a prospective cohort study in Northwest Ethiopia. BMC Pregnancy and Childbirth, 20(1), 73. https://doi.org/10.1186/s12884-020-2759-8

Neubauer, B. E., Witkop, C. T., & Varpio, L. (2019). How phenomenology can help us learn from the

experiences of others. Perspectives on medical education, 8(2), 90 – 97. https://doi.org/ 10.1007/s40037-019-0509-2

Nutbeam, D. (2000). Health literacy as a public goal: A challenge for contemporary health education and communication strategies into the 21st century. Health promotion international, 15(3), 259 - 267. https://doi.org/10.1093/heapro/15.3.259

Ören, E. D. T., Avdal, E. Ü., Polat, G., Sofulu, F., Düzgün, G., & Pamuk, G. (2024). Experiences of women with gestational diabetes about fear of having diabetes in their babies: A qualitative study. Medicine, 103(15), e37755. https://doi.org/10.1097/MD.0000000000037755

OuYang, H., Chen, B., Abdulrahman, A. M., Li, L., & Wu, N. (2021). Associations between gestational diabetes and anxiety or depression: a systematic review. Journal of diabetes research, 9959779. https://doi.org/10.1155/2021/9959779

Pirdehghan, A., Eslahchi, M., Esna-Ashari, F., & Borzouei, S. (2020). Health literacy and diabetes control in pregnant women. Journal of Family Medicine and Primary Care, 9(2), 1048 - 1052. https://doi.org/10.4103/jfmpc.jfmpc_891_19.

Rawal, S., Olsen, S. F., Grunnet, L. G., Ma, R. C., Hinkle, S. N., Granstrom, C., Wu, J., Yeung, E., Mills, J.L., Zhu, Y., Bao, W., Ley, S.H., Hu, F.B., Damm, P., Vaag, A., Tsai, M.Y., & Zhang, C. (2018). Gestational diabetes mellitus and renal function: a prospective study with 9- to 16-year follow-up after pregnancy. Diabetes Care, 41, 1378 - 1384. https://doi.org/10.2337/ dc17-2629

Rieß, C., Heimann, Y., Schleußner, E., Groten, T., & Weschenfelder, F. (2023). Disease Perception and Mental Health in Pregnancies with Gestational Diabetes—PsychDiab Pilot Study. Journal of Clinical Medicine, 12(10), 3358. https://doi.org/10.3390/jcm12103358

Ryan, G. W., & Bernard, H. R. (2003). Techniques to identify themes. Field methods, 15(1), 85 - 109. https://doi.org/10.1177/1525822X0 2239569

Shi, P., Liu, A., & Yin, X. (2021). Association between gestational weight gain in women with gestational diabetes mellitus and adverse pregnancy outcomes: a retrospective cohort study. BMC pregnancy and childbirth, 21(1), 508. https://doi.org/10.1186/s12884-021-03982-4

Srisawad, K., Panyapinitnukul, C.& Sonnark, N. (2018). Health Promoting Behavior in Pregnancy. Songklanagarind Journal of Nursing, 38(2), 95 - 109. https://he02.tci-thaijo.org/index.php /nur-psu/article/view/132036

Veerasetty, N. K., Venkatachalam, J., Subbaiah, M., Arikrishnan, K., & Soni, B. (2024). Determinants of health literacy and its impact on glycemic control among women with gestational diabetes mellitus in a tertiary care hospital, Puducherry–A cross-sectional analytical study. Journal of Education and Health Promotion, 13(1), 119. https://doi.org/10.4103/jehp.jehp_762_23

Wanchai, A., Srisaket, J., & Tienthavorn, V. (2023). Seven-Color Balls application in non-Communicable diseases: a scoping review. Journal of Nursing and Health Science Research, 15(2), e267915. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/unc/article/view/e267915 /e267915

ภาพที่ 1 ประสบการณ์ได้รับการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล และการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวในหญิงที่เป็นเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-14