การเข้ารหัสเชิงควอนตัม: แนวทางการรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ในอนาคต

Main Article Content

ดนัย ปฏิยุทธ

บทคัดย่อ

ในบทความนี้เป็นการกล่าวถึงการเข้ารหัสเชิงควอนตัมโดยได้อธิบายถึงการแจกจ่ายกุญแจเข้ารหัส ซึ่งใช้กลศาสตร์ควอนตัม เรียกว่าการแจกจ่ายกุญแจเข้ารหัสเชิงควอนตัม (Quantum Key Distribution; QKD) การแจกจ่ายกุญแจเข้ารหัสเชิงควอนตัมมีจุดเด่น คือผู้ส่งและผู้รับสามารถตรวจจับได้ว่ากุญแจการเข้ารหัสถูกแอบดังฟังหรือเก็บข้อมูลโดยบุคคลที่สาม และตอนท้ายของบทความได้แสดงให้เห็นถึงการนำการเข้ารหัสเชิงควอนตัมไปใช้งานจริง โดยประเทศต่าง ๆ

Article Details

บท
บทความปริทรรศน์

References

การเข้ารหัสทางควอนตัม (Quantum Cryptography) [Internet]. 2018 [cited 2021 Oct 7]. Available from:https://www.quteth.com/2018/11/29/การเข้ารหัสทางควอนตัม-quantum-c/

การเข้ารหัสทางควอนตัม (Quantum Cryptography) [Internet]. 2015 [cited 2021 Oct 7]. Available from: https://www.techtalkthai.com/quantum-key-distribution-part-1/

Galaxy Quantum 2 ใช้การเข้ารหัสเชิงควอนตัม เพิ่มความปลอดภัยให้แอป โดยเฉพาะกลุ่ม Mobile Banking [Internet]. 2021 [cited 2021 Oct 7]. Available from: https://droidsans.com/galaxy-quantum-2-equipped-with-qrng-quantum-cryptography-chip/

การสื่อสารเชิงควอนตัม (Quantum Communication) คืออะไร [Internet]. 2019 [cited 2021 Oct 7]. Available from:https://www.blockdit.com/posts/5cdbf6e850ad781f982390aa

อินเดียใช้การเปลี่ยนแปลงเชิงควอนตัมเพื่อรักษาความปลอดภัยด้านการสื่อสาร [Internet]. 2021 [cited 2021 Oct 7]. Available from: https://ipdefenseforum.com/th/2021/01/อินเดียใช้การเปลี่ยนแป/

Federico Grasselli. Quantum Cryptography: From Key Distribution to Conference KeyAgreement. Springer; 2021.