การประเมินคุณภาพทางด้านจุลชีววิทยาของน้ำดื่มบรรจุขวดที่จำหน่ายในจังหวัดสกลนคร ประเทศไทย ที่เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องนาน 1 ปี

Main Article Content

สุบินฑิต นิ่มรัตน์
วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการประเมินคุณภาพของน้ำดื่มบรรจุขวดที่จำหน่ายในจังหวัดสกลนคร ประเทศไทย ที่เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องนาน 1 ปี เพื่อใช้ในสภาวะจำลองการเกิดภัยพิบัติ ผลการศึกษาพบว่าน้ำดื่มบรรจุขวดทั้ง31 ตัวอย่าง มีลักษณะน้ำที่ใส ไม่มีสีและกลิ่น น้ำดื่มบรรจุขวดจำนวน 18 ตัวอย่าง (58.06 %) ผ่านตามมาตรฐานประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 383 พ.ศ. 2560 เนื่องจากมีการระบุชื่อบริษัท วันหมดอายุและสถานที่ผลิตน้ำดื่มบรรจุขวดจำนวน 18 ตัวอย่าง มีค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ในช่วง 6.53 ± 0.11 - 7.84 ± 0.02 ผ่านมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 พ.ศ. 2524 ที่ได้กำหนดค่าความเป็นกรด-ด่างต้องอยู่ระหว่าง 6.5-8.5นอกจากนั้นน้ำดื่มบรรจุขวด 29 ตัวอย่าง (93.55 %) มีปริมาณแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มน้อยกว่า 1.1 MPN/100 mL และไม่พบการปนเปื้อนของ E. coli น้ำดื่มทุกตัวอย่างไม่พบแบคทีเรียก่อโรคทางอาหาร 2 ชนิด ได้แก่ Staphylococcus aureus และ Salmonella sp. ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 354 พ.ศ. 2556 โดยสรุปพบว่าน้ำดื่มบรรจุขวดที่จำหน่ายในจังหวัดสกลนครที่ถูกเก็บไว้ 1 ปีและนำมาศึกษาในครั้งนี้ผ่านมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย ทางด้านคุณภาพทางกายภาพบางประการและจุลชีววิทยาจำนวน 13 ตัวอย่าง คิดเป็น 41.94 %

Article Details

บท
Articles

References

นิธิยา รัตนาปนนท์. หน้าที่ของน้ำในร่างกาย. [อินเทอร์เน็ต]. 2562. เข้าถึงได้จาก: www.foodnetworksolution.com/wiki/ word/6950/หน้าที่ของน้ำในร่างกาย%20%20.

Pant ND, Poudyal N, Bhattacharya SK. Bacteriological quality of bottled drinking water versus municipal tap water in Dharan municipality, Nepal. Journal of Health, Population and Nutrition 2016;35(17):845-850.

กรวิภา ปุนณศิริ, ปรีณา คำแปง, กมลวรรณ

เสาร์สุวรรณ, กุลสตรี ชัชวาลกิจกุล, สุนิษา

มะลิวัลย์. การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะอุทกภัยปี 2554. [อินเทอร์เน็ต]. 2554. เข้าถึงได้จาก: http://hia.anamai.moph.go.th

/download/hia/manual/book/book24-1.pdf.

สาธิต วงศ์อนันต์นนท์. วิกฤตน้ำท่วมประเทศไทย 2554 กับผลกระทบทางสังคม. [อินเทอร์เน็ต]. 2554.เข้าถึงได้จาก: http://library.senate.go.th/

document/Ext3130/3130446_0004.PDF.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, พีรพัฒน์ สุพรรณพันธุ์, วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. คุณภาพของน้ำดื่มบรรจุขวดในจังหวัดกาญจนบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2558;34(1):63-73.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. คุณภาพทางด้านกายภาพและจุลชีววิทยาของน้ำดื่มบรรจุขวดชนิดใสที่จัดจำหน่ายในจังหวัดน่าน.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2557;16(3):57-64.

Feng P, Weagant SD, Grant MA, Burkhardt W. Chapter 4: Enumeration of Escherichia coli and the coliform bacteria. In: Bacteriological Analytical Manual (8th ed.). College Park: US Food and Drug Administration, Center for Food Safety and Applied Nutrition. 2002. [อินเทอร์เน็ต] available: https://www.fda.gov/food/ laboratory-methods-food/bam-4-enumeration-escherichia-coli-and-coliform-bacteria#water.

Blodgett R. BAM appendix 2: Most probable number from serial dilutions. [Internet]. 2010. Available from: https://www.fda.gov/

food/laboratory-methods-food/bam-appendix-2-most-probable-number-serial-dilutions#tab5.

Rompre A, Servais P, Baudart J, de Roubin MR. Laurent P. Detection and enumeration of coliforms in drinking water: current methods and emerging approaches. Journal of Microbiology Methods 2002;49(1):31-54.

Chowdhory A, Kabir N, Chowdhury MI. Chowdhury JA. Detection of Escherichia coli in drinking water sources of filter units and supply water. Bangladesh Pharmaceutical Journal 2016;19(2):206-10.

Keeven JK, Decicco BT. Selective medium for Pseudomonas aeruginosa that uses 1,10-phenanthroline as the selective agent. Applied and Environmental Microbiology 1989;55(12):3231-33.

Holt JG, Krieg NR, Sneath PHA, Staley JT, Williams ST. Bergey’ s Manual of Determinative Bacteriology (9th ed.). Maryland: Williams & Wilkins;1994.

Winn W, Allen S, Janda W, Koneman E, Procop G, Schreckenberaer P, Woods G. Koneman’s Color Atlas and Textbook of Diagnostic Microbiology (6th ed.). Maryland: Lippincott Williams & Wilkins;2006.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 383 พ.ศ. 2560 เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ. [อินเทอร์เน็ต]. 2560. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc. go.th/DATA/PDF/2560/E/097/24.PDF.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 พ.ศ. 2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท. [อินเทอร์เน็ต]. 2524. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2524/D/157/52.PDF.

Westerhoff P, Prapaipong P, Shock EL, Hillaireau A. Antimony leaching from polyethylene terephthalate (PET) plastic used for bottled drinking water. Water Research 2008;42(3):551-56.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, พัชราวรรณ สมบัติวงศ์, วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. ลักษณะและคุณภาพบางประการของดื่มบรรจุขวดชนิดพลาสติกใสที่จำหน่ายในจังหวัดสุรินทร์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2561;37(6):834-46.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, ณัฐวดี ขุนเจ๋ง, วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. คุณลักษณะและคุณภาพบางประการของน้ำดื่มบรรจุขวดชนิดพลาสติกใสที่หมดอายุ 5 ปี.วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 2561;11(2):122-30.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. คุณภาพของน้ำดื่มบรรจุขวดที่จำหน่ายในจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2562;21(1):199-212.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, ณัฐกานต์ ซื่อจำนงกิจการ, กิตติธัช สุพรรณพันธุ์, วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. การประเมินคุณภาพทางกายภาพ ค่าความเป็นกรด-ด่าง และทางจุลชีววิทยาของน้ำดื่มบรรจุขวดที่ผลิตในจังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร 2558;9(2):32-43.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, หทัยทิพย์ บรรเจิดจรัสเลิศ, วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. การประเมินคุณภาพของน้ำดื่มบรรจุขวดที่จำหน่ายในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2556;33(5):454-9.

กรรณิการ์ สิริสิงห. เคมีของน้ำ น้ำโสโครก และการวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: วิศาลการพิมพ์; 2549.

ปราโมช เชี่ยวชาญ. น้ำดื่มในสถานประกอบการ/โรงงานอุตสาหกรรม ตอนที่ 4 – คุณภาพน้ำทางชีวภาพ. [อินเทอร์เน็ต]. 2552. เข้าถึงได้จาก: https://www.stou.ac.th/ Schools/Shs/booklet/2552_3/OcupationHealth452.htm.

Momtaz H, Dehkordi FS, Rahimi E, Asgarifar A. Detection of Escherichia coli, Salmonella species, and Vibrio cholerae in tap water and bottled drinking water in Isfahan, Iran. BMC Public Health 2013;13(556):1-7.

Allen MJ, Edberg SC, Reasoner DJ. Heterotrophic plate count bacteria-what is their significance in drinking water?. International Journal of Food Microbiology 2004;92:256-74.

Jeena MI, Deepa P, Mujeeb Rahiman KM, Shanthi RT, Hatha AAM. Risk assessment of heterotrophic bacteria from bottled drinking water sold in Indian markets. International Journal of Hygiene and Environmental Health 2006;209(2):191-6.

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์, ณัฐกานต์ ซื่อจำนงกิจการ,วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. การศึกษาชนิดและปริมาณแบคทีเรียกลุ่มเฮทเทอโรโทรปในน้ำดื่มบรรจุขวดที่ผลิตในจังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย. วารสารมทร.อีสาน 2558;8(1):105-14.

Doughari HJ, Ndakidemi PA, Human IS, Benade S. The ecology, biology and pathogenesis of Acinetobacter spp.: an overview. Microbes and Environments 2011;26(2):101-12.

Seeliger HPR. Nonpathogenic Listeriae: L. innocua. Zentralblatt für Bakteriologie, Mikrobiologie und Hygiene. 1. Abt. Originale. A, Medizinische Mikrobiologie, Infektionskrankheiten und Parasitologie 1981;249(4):487-93.

Georgieva V, Dimitrova Y. Study of the microbiological quality of Bulgarian bottled water in terms of its contamination with Pseudomonas aeruginosa. Central European Journal of Public Health 2016;24(4):326-30.

Pavlov D, de Wet CME, Grabow WOK, Ehlers MM. Potentially pathogenic features of heterotrophic plate count bacteria isolated from treated and untreated drinking water. International Journal of Food Microbiology 2004;92(3):275-87.

Grant PE, Brenner DJ, Steigerwalt AG, Hollis DG, Weaver RE. Neisseria elongata subsp. nitroreducens subsp. nov., formerly CDC group M-6, a Gram-negative bacterium associated with endocarditis. Journal of Clinical Microbiology 1990;28(12):2591-6.

Bonwitt JH, Tran M, Dykstra EA, Eckmann K, Bell ME, Leadon M, Sixberry M, Glover WA. Fly reservoir associated with Wohlfahrtiimonas bacteremia in a human. Emerging Infectious Diseases 2018;24(2):370-3.

Shinha T. Cellulitis and bacteremia due to Neisseria weaveri following a dog bite. IDCases 2018;12:56-7.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 364 พ.ศ. 2556 เรื่อง มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค. [อินเทอร์เน็ต]. 2556. เข้าถึงได้จาก: http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P364.pdf.

Rusin PA, Rose JB, Haas CN. Gerba CP. Risk assessment of opportunistic bacterial pathogens in drinking water. Reviews of Environmental Contamination and Toxicology 1997;152:57-83.

Igbeneghu OA, Lamikanra A. The bacteriological quality of different brands of bottled water available to consumers in Ile-Ife, south-western Nigeria. BMC Research Notes 2014;7(859):1-6.