อายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ขนมพื้นบ้านลาวเวียง

Main Article Content

นภาพันธ์ โชคอำนวยพร
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก

บทคัดย่อ

ขนมก้นกระทะเป็นขนมพื้นบ้านท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ของชาวลาวเวียง ตำบลเนินขาม จังหวัดชัยนาท  ขนมมีส่วนประกอบจากข้าวเจ้าที่ผ่านการโม่เป็นแป้ง เกลือ และน้ำผ่านการขึ้นรูปโดยการทอดในกระทะ ทางสมาชิกกลุ่มอาหารชาวลาวเวียง ได้ทำการพัฒนาขนมก้นกระทะสำหรับจัดจำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพสำหรับการท่องเที่ยวในชุมชนโดยเติมส่วนผสมอื่น ๆ ให้ขนมมีคุณค่าทางโภชนาการเพิ่มมากขึ้น ปรับขนาดของขนม และปรับเปลี่ยนกระบวนการขึ้นรูปขนมโดยใช้แผ่นให้ความร้อน  งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ขนมก้นกระทะสูตรที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ก่อนจำหน่ายแก่ผู้บริโภค โดยศึกษารูปแบบของบรรจุภัณฑ์ 2 ชนิด ได้แก่ ถุงพลาสติก OPP กับถุงฟอยล์ลามิเนต ทำการวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพ เคมี จุลินทรีย์และการยอมรับของผู้บริโภค เมื่อเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ที่อุณหภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส) พบว่า ขนมก้นกระทะสูตรที่ใช้กะทิบรรจุในถุงพลาสติก OPP และถุงฟอยล์ลามิเนตมีอายุการเก็บรักษานาน 3 และ 4 สัปดาห์ ตามลำดับ ส่วนขนมก้นกระทะสูตรที่ไม่ใช้กะทิบรรจุในถุงพลาสติก OPP และถุงฟอยล์ลามิเนต มีอายุการเก็บรักษานานถึง 6 สัปดาห์ โดยที่ผลิตภัณฑ์ยังคงได้รับการยอมรับและปลอดภัยต่อผู้บริโภค


 


 

Article Details

บท
Articles

References

ไพโรจน์ สมุทรักษ์, ชลิต กังวาราวุฒิ. การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้เรื่อง อาหารลาวเวียง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม; 2564.

จิราพร รุ่งเลิศเกรียงไกร, ปัทมา ระตะนะอาพร, เยาวภา ไหวพริบ, วรรณวิมล คล้ายประดิษฐ์, อนันต์ ทองทา และคณะ. การวิจัยและพัฒนา

เพื่อใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าเศษเหลือจากอุตสาหกรรมแปรรูปปลาแซลมอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2555.

สิริมา ชินสาร, วิชมณี ยืนยงพุทธกาล, นิสานารถ กระแสร์ชล. ผลของชนิดบรรจุภัณฑ์และอุณหภูมิการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของขนุนทอด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 2561;49:77-80.

สุนิษา วิไลพัฒน์, จิราพร อัคคีสุวรรณ์. การใช้กากมะพร้าวเสริมในขนมทองม้วน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร; 2554.

Chikkanna GS, Jha SK, Ambika DS, Sadananda GK. Effect of Packaging Material and Storage Period on Quality of Aonla and Cereal Based Extruded R-T-E Snack. Int J Curr Microbiol Appl Sci 2020;9:1-9.

Tiwari A, Jha SK. Effect of Nitrogen Gas Enriched Packing on Quality and Storage Life of Pearl Millet Based Fried Snack. J Biosyst Eng 2017;42:62-8.

Sand CK. Snack Packaging. [Internet]. 2019 [cited 2021 Feb 14] Available from: https://www.ift.org/ news-and-publications/food-

technology-magazine/issues/2019/april/columns/packaging-smaller-sized-packaging-for-snack-size-food.

Mostafa Kamal Md. The Packaging of Cereals, Snack Foods and Confectionery. [Internet]. 2021 [cited 2021 Feb 14] Available from: https://www.researchgate.net/ publication/349693862_The_Packaging _of_Cereals_Snack_Foods_and_Confectionery

สุชาดา ทองอ้น, ชาริสา แสงทองอร่าม. การพัฒนาอาหารลาวเวียงเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม; 2564.

Boonyasirikool P, Charunuch C. Development of Corngrit-Broken Rice Based Snack Food by Extrusion Cooking. Witthayasan Kasetsat 2000;34:279-88.

U.S. Food and Drug Administration. Bacteriological Analytical Manual (BAM). [Internet]. 2021 [cited 2020 Oct 28] Available from: https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bacteriological-analytical-manual bam.

Hough G. Sensory Shelf Life Estimation of Food Products. USA: CRC Press; 2010.

Gámbaro A, Giménez A, Varela P, Garitta L, Hough G. Sensory Shelf-life Estimation of Alfajor by Survival Analysis. J. Sensory Studies 2005;19:500-9.

ภาราดร งามดี. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวเฟอร์คุกกี้เสริมคุณประโยชน์จากปลีกล้วยผง. PBRU SCIENCE JOURNAL 2564;18:73-85.

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนขนมอัด มผช.1238/2549. กระทรวงอุตสาหกรรม.

สุวลี ฟองอินทร์, เจนจิรา กาศวิลาศ, ศรัญญา หล้าอินเชื้อ, ศิรีพร แสงคำ, วันวิสาข์ ดอกคำ, ปิยะ พันธ์แดง. ผลของชนิดบรรจุภัณฑ์ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของแครกเกอร์ข้าวก่ำพะเยาระหว่างการเก็บรักษา. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา 2564;26:33-45.

Yadav U, Singh RRB, Arora S. Evaluation of quality changes in nutritionally enriched extruded snacks during storage. JFST 2018;55:1-10.

Labuza T, Roe K, Payne C, Panda F, Labuza TJ, Labuza PS, et al. Storage stability of dry food systems: Influence of state changes during drying and storage. In: Silva MA, Rocha SCS, editors. Drying 2004 - Proceedings of the 14th International Drying Symposium (IDS 2004); 2004 August 22-25; São Paulo, Brazil. Campinas: State University, Chemical Engineering School; 2004. P 48-68.

Maisont S, Samutsri W, Phae-ngam W, Limsuwan P. Development and Characterization of Crackers Substitution of Wheat Flour with Jellyfish. Front Nutr 2021;8:1-9.

Barbosa C, Gustavo V, Schmidt SJ, Labuza TP. Water Activity in Foods: Fundamentals and Applications. Ames, Los Angeles: Blackwell; 2007.

Food and Agriculture Organization (FAO). Handling and Preservation of Fruits and Vegetables by Combined Methods for Rural Areas. [Internet]. 2003 [cited 2021 Feb 14] Available from: http://hubrural.org/IMG/pdf/fao_barbosa_canovas.pdf.

Mannheim CH, Liu JX, Gilbert SG. Control of water in foods during storage. J Food Eng 1994;22:509-32.

Coles R, McDowell D, Kirwan MJ. Food Packaging Technology. [Internet]. 2003 [cited 2021 Apr 20] Available from: https://polymerinnovationblog.com/wp-content/uploads/2017/02/Food-Packaging-Techno logy.pdf.

Sampurno B. Application of polymers in the packaging industry. JUSAMI 2006;Special Edition:15-22.

Chowdhury K, Khan S, Karim R, Obaid M, Hasan GMMA. Quality and Shelf-Life Evaluation of Packaged Biscuits Marketed in Bangladesh. Bangladesh J Sci Ind Res 2012;47:29-42.

Morais MP, Caliari M, Nabeshima EH, Batista JER, Campos MRH, Soares Júnior MS. Storage Stability of Sweet Biscuit Elaborated with Recovered Potato Starch from Effluent of Fries Industry. Food Sci Technol 2004;38:216-22.