ฤทธิ์ต้านอักเสบในหลอดทดลองของสารสกัดเอทานอลจากสมุนไพรไทยที่ใช้ในตำรับยาไทยแก้ปวดและแก้ไข้
Main Article Content
บทคัดย่อ
ใบคนทา ผลคนทา ใบมะคำไก่ และ เหง้าว่านนางคำ มีการใช้ประโยชน์เป็นตัวยาสมุนไพรแก้อาการปวดและลดไข้ ในงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสามารถในการต้านการอักเสบในหลอดทดลองของใบคนทา ผลคนทา ใบมะคำไก่ และ เหง้าว่านนางคำ ที่นำมาสกัดด้วยเอทานอล ทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดด้วยวิธีการยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์ในเซลล์ RAW 267.4 ที่ถูกเหนี่ยวนำโดยสารก่อการอักเสบ Lipopolysaccharide (LPS) ด้วย Griess reagent ผลการทดลองพบว่าสารสกัดด้วยเอทานอลจากเหง้าว่าน
นางคำ ใบมะคำไก่ ใบคนทา และผลคนทา มีฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยสามารถยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่า IC50 20.99 ± 9.16, 28.11 ± 8.02, 42.06 ± 3.26, 52.38 ± 7.92 µg/ml ตามลำดับ โดยไม่พบความเป็นพิษต่อเซลล์แมคโครฟาจ RAW 264.7 ผลงานวิจัยนี้สนับสนุนการใช้แบบพื้นบ้านและการแพทย์แผนไทย และเป็นข้อมูลเบื้องต้นทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยสนับสนุนในการพัฒนาเป็นยาสมุนไพรแก้ปวดและลดไข้ต่อไป แต่อย่างไรก็ตามควรทําการศึกษาฤทธิ์ในการต้านอักเสบด้วยกลไกอื่น ๆ ในระดับโมเลกุลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ PBRU Science Journal
References
วิชัย เอกพลากร, หทัยชนก พรรคเจริญ,วราภรณ์ เสถียรนพเก้า. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: 2564.
Aging Society VS. Aged Society in Global and Thai Context. [Internet]. 2024 [cited 2024 May 23]. Available from: https://resource.tcdc.or.th/ebook/AgingSociety_Report_official.pdf
ปรีชา รักษ์พลเมือง. ปวดเมื่อยเมื่อสูงอายุ. [อินเทอร์เน็ต]. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 20 พ.ค 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=160
ไทยพับลิกา. เมื่อไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ Aged Society ผู้สูงอายุไทยได้รับสวัสดิการอะไรบ้าง. [อินเทอร์เน็ต]. 2567 [เข้าถึงเมื่อ 20 พ.ค.2567]. เข้าถึงได้จาก: https://thaipublica.org/2024/02/thailand-becomes-aged-society/
จิดาภา สุขสุสินธุ์, นิชาพร แซ่ลี้, วรรณคล เชื้อมงคล. ความรู้และพฤติกรรมการใช้ยาพาราเซตามอลของประชาชน แขวงนวมินทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร. ศรีนครินทร์เวชสาร 2564;36:451-9.
กองผลิตภัณฑ์สมุนไพร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2566. พิมพ์ครั้งที่1.ปทุมธานี: มินนี่ กรุ๊ป; 2566.
หน่วยเวชระเบียน. งานเวชระเบียนและสถิติ. ช่อชงโคคลินิกการแพทย์แผนไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพฯ: 2566.
นันทวัน บุญยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (1). พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร: ประชาชน จำกัด; 2539.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ ม.อุบลราชธานี [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 10 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://apps.phar.ubu.ac.th/phargarden/main.php?action=viewpage&pid=312
ยงศักดิ์ ตันติปิฎก. ตำราเภสัชกรรมไทย เล่ม1. พิมพ์ครั้งที่ 1. สมุทรสาคร: บริษัท พิมพ์ดี จำกัด; 2561
Choodej S, Sommit D, Pudhom K. Rearranged limonoids and chromones from Harrisonia perforata and their anti-inflammatory activity. Bioorg Med Chem Lett 2013;23:3896-900.
Gui PY, Yan XH, Yuan WJ, Ma YL, Ding X, Liu S, et al. 12 β-Acetyloxyperforatin, a New Limonoid from Harrisonia perforata. Nat Prod Res 2019;33:2830-6.
Joy A, Ap pavoo RM, Wilsy IJ. Antibacterial activity of Putranjiva roxburghii Wall: A medicinal plant. Int J Health Sci 2022;6:3032-7.
Rajahamsa AKL, KS D, Rao TKVK, Kumar AVR P, Reddy GRS, MS P. Multi-model confirmatory evaluation of anti-inflammatory, analgesic and antioxidant activities of Putranjiva roxburghii Wall. Int J Biomed Adv Res 2013;12:921-32.
Sudha BR, Sarath P. Screening and Evaluation of Bioactivity of Methanolic Extract of Leaf of Putranjiva roxburghii Wall. (Putranjivaceae). Int J Pharm Biol Sci 2019;9:1148-56.
นันทวัน บุญยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญ. สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (3). กรุงเทพมหานคร: ประชาชนจำกัด; 2539.
Raghavendra HL, Kekuda TRP, Valleesha NC, Sudharshan SJ, Chinmaya A. Screening for Cytotoxic activity of Methanol Extract of Putranjiva roxburghii Wall (Euphorbiaceae)Seeds. Phcog J 2010;10:335-7.
Curcuma aromatica Salisb. [Internet]. 2024 [cited 2024 May 23]. Available from:https://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:796426-1
Pintatum A, Maneerat W, Logie E, Tuenter E, Sakavitsi ME, Pieters L, et al. In Vitro Anti-inflammatory, Anti-Oxidant, and Cytotoxic Activities of Four Curcuma Species and the Isolation of Compounds from Curcuma aromatica Rhizome. Biomolecules 2020;10:799.
Ahmad S, Ali M, Ansari SH, Ahmed F. Phytoconstituents from the rhizomes of Curcuma aromatica Salisb. J Saudi Chem Soc 2011;15:287-90.
Dunster JL. The macrophage and its role in inflammation and tissue repair: mathematical and systems biology approaches. Wiley Interdiscip Rev Syst Biol Med 2016;8:87-99.
Kang SG, Lee GB, Vinayagam R, Do GS, Oh SY, Yang SJ, et al. Anti-Inflammatory, Antioxidative, and Nitric Oxide-Scavenging Activities of a Quercetin Nanosuspension with Polyethylene Glycol in LPS-Induced RAW 264.7 Macrophages. Molecules 2022;27:7432.
Ogoina D. Fever, fever patterns and diseases called 'fever'--a review. J Infect Public Health 2011;4:108-24.
Jiang Z, Zhu L. Update on the role of alternatively activated macrophages in asthma. J Asthma Allergy 2016;9:101-7.
Sadeghi-Aliabadi H, Aliasgharluo M, Fattahi A, Mirian M, Ghannadian M. In vitro cytotoxic evaluation of some synthesized COX-2 inhibitor derivatives against a panel of human cancer cell lines. Res Pharm Sci 2013;8:298.
Joo T, Sowndhararajan K, Hong S, Lee J, Park SY, Kim S, et al. Inhibition of nitric oxide production in LPS-stimulated RAW 264.7 cells by stem bark of Ulmus pumila L. Saudi J Biol Sci 2014;21:427-35.
Duncan DB. Multiple range and multiple F test. Biometrics 1955;11:1–42.
Watkins LR, Maier SF, Goehler LE. Immune activation: the role of pro-inflammatory cytokines in inflammation, illness responses and pathological painstates. Pain 1995;63:289-302.
Luanratana O, Griffin WJ. Alkaloid Biosynthesis in Duboisia Hybrid. J Nat Prod 1982;45:551-6
พรพรรณ สิระมนต์, รัตติยา แววนุกูล. องค์ประกอบทางเคมี และฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดเหง้าว่านนางคํา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2021;6:118-25.
Ahmed S, Ansari SH, Ali M, Bhatt D, Ansari F. Phytochemical and Biological Investigations on Curcuma aromatica: A review. Phcog Rev 2008;2:151-6.
Reanmongkol W, Noppapan T, Subhadhirasakul S. Antinociceptive, antipyretic, and anti-inflammatory activities of Putranjiva roxburghii Wall. leaf extract in experimental animals. J Nat Med 2009;63:290-6.
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. ข้อมูลรายการอ้างอิงผลิตภัณฑ์สมุนไพร ประเภท ตำรับยาแผนไทย ฉบับ พ.ศ. 2566 สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขอจดแจ้ง. 2566.
Abhimanyu KK, Ravindra CS, Avanapu RS. A validated HPTLC method for the quantification of friedelin in Putranjiva roxburghii Wall extracts and in polyherbal formulations. Bull Fac Pharm Cairo Univ 2017;55:79-84.
Merck. Friedelin. [Internet]. 2024 [cited 2024 May 23]. Available from: https://www.sigmaaldrich.com/TH/en/product/aldrich/855022
Toledo CR, Pereira VV, Duarte LP, Sousa GF, Silva-Cunha A. Anti-angiogenic activity and safety of intraocular application of triterpenes. Doc Ophthalmol 2021;143:259-70.