คุณลักษณะสารสกัดจากพืชวงศ์ Apiaceae และ Piperaceae จำนวน 4 ชนิด

Authors

  • อรพิน เกิดชูชื่น คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 83 หมู่ 8 ถนนเทียนทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150
  • ณัฏฐา เลาหกุลจิตต์ คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 83 หมู่ 8 ถนนเทียนทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150
  • มณฑกาญจน์ ชนะภัย คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 83 หมู่ 8 ถนนเทียนทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150

Keywords:

คื่นฉ่าย, พลู, พริกไทยขาว, พริกไทยดำ, สารสกัด, Gas chromatography mass spectrometry (GC-MS), celery, betal, white pepper, black pepper, plant extract, gas chromatography mass spectrometry (GC-MS)

Abstract

บทคัดย่อ

ศึกษาชนิดและปริมาณสารสกัดจากคื่นฉ่าย (celery) พลู (betal) พริกไทยขาว (white pepper) และพริกไทยดำ(black pepper) สกัดด้วยวิธีต้มกลั่น (hydrodistillation) และตัวทำละลาย 2 ชนิด คือ ปีโตรเลียมอีเธอร์ (PE) และเอทานอล(ET) ผลการศึกษาพบว่า สารสกัดคื่นฉ่ายมี %yield ของ crude extract สูงสุด รองลงมาคือพลู พริกไทยขาว พริกไทยดำซึ่งการสกัดด้วย ET ให้ %yield ของ crude extract ของพืชทุกชนิดสูงกว่าการสกัดด้วย PE เมื่อวิเคราะห์สารสกัดพืชด้วยGas Chromatography Mass Spectrophotometer (GC-MS) พบสารสำคัญในสารสกัดคื่นฉ่าย 12 ชนิด ได้แก่ selinene,juniper camphor, trans-caryophyllene และ phthalide สารสกัดจากพลู 17 ชนิด ได้แก่ 3-allyl-6-methoxyphenol,α-cadinene, ß-cadinene, 4-chromanol, 3-allyl-6-methoxyphenol และ chavicol สารสกัดจากพริกไทยขาว 13ชนิด ได้แก่ trans-caryophyllene, α-humulene, spathulenol, elemene และ piperine และสารสำคัญในสารสกัดจากพริกไทยดำ 20 ชนิด ได้แก่ trans-caryophyllene, α-terpinyl acetate, 3-carene, α-copaene และ piperine

คำสำคัญ: คื่นฉ่าย; พลู; พริกไทยขาว; พริกไทยดำ; สารสกัด; Gas chromatography mass spectrometry (GC-MS)

 

Abstract

Plant extracts obtained from celery, betel, white pepper and black pepper by hydro distillation, andsolvent extraction by petroleum ether (PE) and ethanol (ET) were studied and characterized. Celery extractshowed the highest percentage yield of the crude extract, followed by those of betel, white pepper, and blackpepper, respectively. Solvent extraction by ethanol gave a higher percentage yield of crude extracts than that bythe PE. The compounds of the extracts were then identified by gas chromatography-mass spectrophotometer(GC-MS). There were 12 major components found in the celery extract including selinene, juniper camphor,trans-caryophyllene and phthalide. Betel extract was composed of 17 major components of 3-allyl-6-methoxyphenol,α-cadinene, ß-cadinene, 4–chromanol, 3-allyl-6-methoxyphenol and chavicol. Some of 13 major componentssuch as trans-caryophyllene, α-humulene, spathulenol, elemene and piperine, were found in whitepepper extract. There were 20 major components found in black pepper extract including trans-caryophyllene,α-terpinyl acetate, 3-carene, α-copaene and piperine.

Keywords: celery; betal; white pepper; black pepper; plant extract, gas chromatography mass spectrometry (GC-MS)

Downloads

How to Cite

เกิดชูชื่น อ., เลาหกุลจิตต์ ณ., & ชนะภัย ม. (2013). คุณลักษณะสารสกัดจากพืชวงศ์ Apiaceae และ Piperaceae จำนวน 4 ชนิด. Journal of Food Health and Bioenvironmental Science, 3(1), 35–44. Retrieved from https://li01.tci-thaijo.org/index.php/sdust/article/view/5204

Issue

Section

Original Articles