เชื้อเพลิงอัดแท่งจากเศษไม้พาเลท
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำเศษไม้พาเลทมาผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง เพื่อนำมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน โดยใช้แป้งเปียกเป็นตัวประสานในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน ทำการวิเคราะห์หาอัตราส่วนที่เหมาะสม ต้นทุนในการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งและผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า อัตราส่วนถ่าน : แป้งเปียก ที่เหมาะสมคือ 1 : 0.25 ซึ่งให้ค่าพลังงานความร้อนสูงที่สุด 7,269.28 cal/g และปริมาณเถ้า 2.02 % การวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์พบว่า อัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 1 : 0.25 มีต้นทุนการผลิต 7.23 บาทต่อกิโลกรัม และระยะเวลาคืนทุน 0.67 เดือน ถ้าขายที่ราคา 18 บาท/กิโลกรัม
Downloads
Article Details
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”
References
โรงงานพีคถ่านอัดแท่ง. ม.ป.ป. สินค้าแนะนำ. แหล่งที่มา: https://www.peakcharcoal.com/, 1 พฤศจิกายน 2560.
ธารินี มหายศนันท์. 2548. การออกแบบและสร้างเครื่องผลิตถ่านอัดแท่งสำหรับการผลิตในระดับครัวเรือน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุริยา ชัยเดชทยากูล. 2544. การทำเชื้อเพลิงอัดแท่งจากส่วนผสมกากตะกอนของระบบบำบัดน้ำเสียและเศษชิ้นไม้สับของโรงงานผลิตเยื่อกระดาษ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักโลจิสติกส์. 2555. คู่มือแนะนำมาตรฐานด้านโลจิสติกส์ในประเทศไทย. กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ.
Arkansas Department of Environmental Quality. 2014. Pallet Management and Waste Reduction. Available Source: https://www.adeq.state.ar.us/downloads/communications/brochures_online/06_solid%20waste/pallet%20management%20fact%20sheet.pdf, December 1, 2017
ASTM. 1987. Standard Test Method for Gross Calorific Value of Refuse-Derived Fuel by the Bomb Calorimeter. American Society for Testing and Materials, U.S.A.
ASTM. 2015. Standard Test Method for Proximate Analysis of Coal and Coke by Macro Thermogravimetric Analysis. American Society for Testing and Materials, U. S. A.
Corr, D.T. 2000. The Status of Wood Pallet Disposal and Recovery at United States Landfills. M.S. Thesis, Faculty of the Virginia Polytechnic Institute and State University.
Luksmeevanich, V., K. Sirikulrat and N. Boontung. 2011. Acceptance Behaviour on Compressed Corncob and Coconut Shell Charcoal of People in Tombon Chang Khoeng Amphoe Mae Chaem, Chiang Mai. Chiang Mai Rajabhat University.
Parker, P.M. 2005. The 2005-2010 World Outlook for Wood Container and Pallet Manufacturing. Available Source: https://www.icongrouponline.com, December 1, 2017.
Panunumpa, N. 2010. Calorific Value of Wood and Charcoal. Forest Research and Development Bureau Forest Department 1st ed. P Press Company Limited, Bankok.
Thai Industrial Standards Institute. 2004. Thai Community Product Standard of Charcoal Bar (238/2547).
Torsakul, S., K. Tongsri and J. Suparatsirichai. 2012. Development of Compressed Charcoal from Scrapped Coconut for Alternative Energy. Facculty of Engineer Rajamangala University of Technology Thanyaburi.