การทดสอบถิ่นกำเนิดของไม้กระถินเทพาอายุ 1 ปี ที่สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
กระถินเทพาเป็นไม้ต่างถิ่นที่เติบโตได้ดีในประเทศไทย สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น ทำเฟอร์นิเจอร์ ไม้แปรรูป เยื่อและกระดาษ เชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ด การทดลองนี้ได้นำเมล็ดพันธุ์จากถิ่นกำเนิดต่างๆ จำนวน 14 แหล่ง มาทำการปลูกที่สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังน้ำเขียว เพื่อทำการทดสอบความผันแปรและเปรียบการเติบโตของถิ่นกำเนิด ค่าสภาวะถ่ายทอดพันธุกรรม ผลการทดลองพบว่ากระถินเทพามีอัตราการรอดตายอยู่ระหว่าง 76.39-97.22 เปอร์เซนต์ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดินมีค่าอยู่ระหว่าง 4.97-6.12 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกมีค่าระหว่าง 3.45-4.51 เซนติเมตร และความสูงมีค่าระหว่าง 3.65-4.62 เมตร เมื่อทดสอบความแปรปรวนพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในทุกลักษณะ ค่าสภาวะถ่ายทอดพันธุกรรมของ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดิน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก และความสูง มีค่าเท่ากับ 50.41 49.93 และ 60.93% ตามลำดับ เมื่อจัดลำดับเพื่อหาถิ่นกำเนิดที่ดีที่สุดพบว่าถิ่นกำเนิด 8 จาก Upper Aramia, PNG มีค่าการเติบโตดีที่สุด จากผลการศึกษาในเบื้องต้นพอสรุปได้ว่าการปลูกสร้างสวนป่ากระถินเทพาควรเลือกถิ่นกำเนิดจากประเทศปาปัวนิวกินีจะให้การเติบโตที่ดีที่สุด
Downloads
Article Details
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”
References
ชนะ ผิวเหลือง. 2540. การทดสอบสายพันธุ์และถิ่น กำเนิดของกล้าไม้ประดู่ในเรือนเพาะชำ. วารสารวนศาสตร์ 16: 23-33.
นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์, วสันต์ จันทร์แดง, แสงสรรค์ ภูมิสถาน, สราวุธ สังข์แก้ว, รุ่งเรือง พูลศิริ, พิชิต ลำไย, ปิยวัตน์ ดิลกสัมพันธ์, นรินธร จำวงษ์, พยัตติพล ณรงคะชวนะ, ยุทธพงษ์ คีรีมังคละ และ นพพร จันทร์เกิด. 2558. แผน พัฒนาป่าสาธิตวังน้ำเขียวอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา (พ.ศ. 2559 - 2563). คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
บุญวงศ์ ไทยอุตส่าห์. 2537. กระถินเทพาไม้ที่น่าจับตามอง สำหรับพื้นที่เสื่อมโทรม ฝนชุก และดินมี ความชุ่มชื้นสูง. ใน ร้อยบทความป่าไม้ 2538. ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วันชัย อรุณประภารัตน์. 2542. แนวทางการใช้ประโยชน์ พื้นที่สถานีฝึกนิสิตวนศาสตร์วังน้ำเขียว, น. 25-32. ใน คณะวนศาสตร์, ผู้รวบรวม. สวนรวมพรรณไม้ป่าเฉลิมพระเกียรติ ร. 9 ณ สถานี ฝึกนิสิตวนศาสตร์วังน้ำเขียว อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
วาทินี ทองเชตุ. 2542. ความผันแปรระหว่างถิ่นกำเนิดของชลศักย์ในใบไม้กระถินณรงค์. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศุภสิทธิ์ ชุนเชาวฤทธิ์. 2543. การทดสอบถิ่นกำเนิดของไม้สนทะเลที่สถานีฝึกนิสิตวนศาสตร์ห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
สุรีย์ ภูมิภมร. 2522. เมล็ดพรรณไม้ป่าในเขตร้อน. ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สุวรรณ ตั้งมิตรเจริญ. 2557. แนวทางการพัฒนาแหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้ป่า. สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้, กรมป่าไม้. กรุงเทพฯ.
อุษารัตน์ เทียนไชย, สาพิศ ดิลกสัมพันธ์ และ สุวรรณ ตั้งมิตรเจริญ. 2556. สถานภาพปัจจุบันและแนวทางการจัดการของการอนุรักษ์พันธุกรรมนอกถิ่นกำเนิดไม้ยางนาของกรมป่าไม้. วารสารวนศาสตร์ 32 (ฉบับพิเศษ): 119-132.
Arnold, R.J., A. Gonzales and A. Abraquez. 1998. Domestication of exotic species in Bukidnon province, Philippines, pp. 136-142. In Turnbull, J.W., H.R. Crompton and K. Pinyopusarerk (eds) Recent Developments in Acacia Plantation. Proceeding of an international workshop held in Hanoi, Vietnam 27-30 October. ACIAR Proceeding No. 82.
Bouasavanh, S. and B. Thaiutsa. 1999. Three-year-old growth of exotic species and provenances planted in Lao PDR, pp. 13-17. In Proceeding of International Workshop of BIO-REFOR, November 3-5, 1998. Manila, Philippines.
Eldridge, K., J. Davidson, C. Hardwood and G.V. Wyk. 1997. Eucalypt Domestication and Breeding. Oxford University Press, Oxford.
Lambeth, C.C., J.P. Van Buijtenen, S.D. Duke and R.B. Mc Cullaugh. 1983. Early selection is effective in 20-year-old genetics tests of loblolly pine. Silvae Genet. 32: 210-215.
Lawskul, S. 1991. Provenance trials of Acacia mangium Willd. at Lad Krating Plantation, Chachoengsao. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Loha, A., M. Tigabu, D. Teketay, K. Lundkvist and A. Fries. 2006. Provenance variation on seed morphometric traits, germinations, and seedling growth of Cordia africana Lam. New Forests 32(1): 71-86.
Maelim, S. 2000. Provenance Variation on Certain Morphological Characteristics of Indonesian Eucalyptus urophylla S.T. Blake at Lad Krating Plantation, Chachoengsao. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Maid, M. 2006. Provenance Variation and Progeny Testing of Eucalyptus urophylla S.T. Blake Grown at Lad Krating Plantation, Chachoengsao Province. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Matheson, A.C. and C.A. Raymond. 1986. A review of provenance x environment interaction: its practical importance and use with particular reference to the tropics. Commonw. For. Rev. 65: 283-302.
Na Takuathung, C. 2005. Provenance Variation on Wood Quality of Acacia mangium Willd. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Na Takuathung, C., D. Pipatwattanakul and S. Bhumibhamon. 2012. Provenance variation in seed morphometric traits and growth performance of Senna siamea (Lam.) Erwin et Barneby at Lad Krating Plantation, Chachoengsao Province, Thailand. Kasetsart J. (Nat. Sci.) 46: 394-407.
Nghia, N.H. and L.D. Kha. 1998. Selection of Acacia species and provenances for planting in Vietnam, pp. 130-135. In Turnbull, J.W., H.R. Crompton and K. Pinyopusarerk (eds) Recent Developments in Acacia Plantation. Proceeding of an international workshop held in Hanoi, Vietnam 27-30 October. ACIAR Proceeding No. 82.
Pipatwattanakul, D. 1989. Provenance Variation in Wood Basic Density of Acacia mangium Willd. at Lad Krating Plantation, Chachoengsao. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Popromsree, K. 2006. Provenance Variation on Certain Characteristics and in Situ Gene Conservation Forest of Merkus Pine (Pinus merkusii Jungh. & De Vriese). MSc. Thesis, Kasetsart University.
Rattanachol, K. 1997. Provenance Variation on Morphological, Anatomical and Physiological Characteristics of Casuarina equisetifolia Grown at Lad Krating Plantation, Chachoengsao. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Samountry, X. 1998. Acacia mangium: Potential species for commercial plantations in Lao PDR, pp. 102-105. In Turnbull, J.W., H.R. Crompton and K. Pinyopusarerk (eds) Recent Developments in Acacia Plantation. Proceeding of an international workshop held in Hanoi, Vietnam 27-30 October. ACIAR Proceeding No. 82.
Sengloung, R. 2002. Provenance Variation on Certain Morphological Characteristics of Casuarina junghuhniana Miq. at Lad Krating Plantation in Chachoengsao, Thailand. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Swatdipakdi, R. 1992. Provenance Variation in Growth Performances and Some Phyllode Characteristics of Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth. at Lad Krating Plantation, Chachoengsao. MSc. Thesis, Kasetsart University.
Thaiutsa, B., P. Meekaew and S. Chunchaowarit. 2002. International provenance trials of Casuarina equisetifolia in southern Thailand, pp. 19-25. In Katsuaki, I., M. Masaya and S. Kazou (eds). Proceeding of the International Workshop of BIO-REFOR, October 7-11, 2001. Tokyo, Japan.
Zobel, B. and J. Talbert, 1984. Applied Forest Tree Improvement. Wiley, New York.