การทบทวนสกุลมดอกแหลม (Hymenoptera: Formicidae: Formicinae) ในประเทศไทย และบทบาทในระบบนิเวศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ทำการทบทวนเกี่ยวกับสกุลมดอกแหลมซึ่งพบทั้งหมด 4 ชนิด ในประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มชนิด ดังนี้ Lophomyrmex bedoti species-group (มดอกแหลมไพร มดอกแหลมนิล และมดอกแหลมเมืองจันท์) และ Lophomyrmex quadrispinosus species-group (มดอกแหลมพม่า) ผู้วิจัยรายงานเพิ่มเติมเกี่ยวกับพื้นที่เก็บตัวอย่างแหล่งใหม่หลายพื้นที่ สำหรับมดอกแหลมทุกชนิดที่เคยมีการรายงานไว้แล้วในประเทศไทย นอกจากนี้ได้จัดทำรูปวิธานการจำแนกชนิดพร้อมทั้งคำบรรยายลักษณะทางสัณฐานวิทยาและข้อมูลทางนิเวศวิทยาของมดแต่ละชนิดไว้ พร้อมทั้งได้รายงานรูปแบบการแพร่กระจายของมดทั้งสี่ชนิดไว้ด้วย อีกทั้งมดอกแหลมทุกชนิดที่พบในประเทศไทยสร้างรังในดิน และเป็นผู้ล่าที่กินสัตว์ขาข้ออื่นเป็นอาหาร ดังนั้น ในวัฏจักรการดำรงชีวิตจึงส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและธาตุอาหารดิน
คำสำคัญ: สกุลมดอกแหลม อนุกรมวิธาน การแพร่กระจาย บทบาทในระบบนิเวศ ประเทศไทย
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”
References
Antwiki. 2020. Checklist of Lophomyrmex species. Available source: https://www.antwiki.org/wiki/Checklist_of_Lophomyrmex_species on October 25, 2020.
Bolton, B. 2003. Synopsis and Classification of Formicidae. Memoirs of the American Entomological Institute 71: 1–370.
Bolton, B. 2020. Bolton World Catalog Ants. Available source: file:///C:/Users/Lenovo/Desktop/Taxonomic%20List%20%20Ants%20of%20Bolton%20World%20Catalog%20%28Species%29%20–%20AntWeb.html on October 25, 2020.
Jaitrong, W. and J. Nabhitabhata. 2005. A list of known ant species of Thailand (Formicidae: Hymenoptera). The Thailand Natural History Museum Journal 1(1): 9–54.
Jaitrong, W., B. Guenard, E.P. Economo, N. Buddhhakala and Sk. Yamane. 2016. A checklist of known ant of Laos (Hymenoptera: Formicidae). Asian Myrmecology 8: 17–48. https://doi.org/10.20362/am.008019
Jaitrong, W., K. Suwanaphak, Y. Samung and T. Jeenthong. 2020. Ants of Thailand. National Science Museum, Pathum Thani, Thailand. 258 pp. [in Thai]
Lu, M., S. Wang, Z. Zhang, M. Chen, S. Li, R. Cao, Q. Cao, Q. Zuo and P. Wang. 2019. Modifying Effect of Ant Colonization on Soil Heterogeneity along a Chronosequence of Tropical Forest Restoration on
Slash-Burn Lands. Soil & Tillage Research. 194: 104329.
Rigato, F. 1994. Revision of the myrmicine ant genus Lophomyrmex, with a review of its taxonomic position (Hymenoptera: Formicidae). Syst. Entomol. 19: 47–60.
Yamane, S. and S. Hosoishi. 2014. Second Vietnamese species of the myrmicine genus Lophomyrmex (Hymenoptera, Formicidae). Halteres 5: 64–68.