ผลของไฟต่อพืชพรรณในป่าเต็งรังในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลของไฟต่อพืชพรรณในปาเต็งรังในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ได้ศึกษาในแปลงทคลองขน าค 30 เมตร x 30 เมตร ที่วางกระจายทั่วพื้นที่แบบสุ่ม ทำการเผาแปลงทคลองในเดือนมกราคมถึงเมษายน พ.ศ.2546 เดือนละ 3 แปลง รวมจำน วน 12 แปลง วัดขนาด และอัตราการตายของไม้ยืนต้น ต้นไม้รุ่น และกล้าไม้ ก่อนผา หลังเผาทันที และหลังเผา 1, 3. 6. 9 และ 12 เดือน เปรียบเทียบขนาดและอัตราการรอดตายของพืชพรรณก่อนและหลังเผา และระหว่างเดือนที่ทาการเผา ผลการศึกษา พบว่าไฟมีผลต่อการเติบโตแ ละการตายของไม้ยืนต้นน้อยมาก แต่มีผลต่อต้นไม้รุ่นและกล้าไม้ทั้งด้านการเติบโตและการตายต้นไม้รุ่นที่มีขนาคเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงอกและความสูงเฉลี่ย 5. 14 เซนติเมตร และ 4.20 เมตร ตามลาดับจะตายในทันทีหลังผา ในขณะที่กล้าไม้ที่มีความสูงน้อยกว่า 1.24 เมตรและเส้นผ่าศูนย์กลางที่ โคนต้นต่ำกว่า 2.55 เซนติเมตร ตายทันทีเมื่อถูกไฟเผา โดยกล้าไม้ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางที่ โคนต้นต่ำกว่า0.5 เซนติเมตร ตายมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ภายหลังไฟเผาทันที การตายของพืชพรรณเพิ่มมากในช่วง 1 เดือนหลังเผา หลังจากนั้นจะค่อนข้างคงที่กล้าไม้ส่วนใหญ่มีการฟื้นตัวจากการแตกหน่อในฤดูฝน เนื่องจากความรุนแรงของไฟในการทคลองไม่รุนแรงไฟจึงส่งผลดีต่อสังคมพืชในค้านการเพิ่มขึ้นของความสูงของต้น ไม้รุ่น แต่ส่งผลกระทบต่อการเติบ ไตของต้น ไม้รุ่นและการตายของกล้าไม้จำนวนมาก แม้ว่าไฟจะเป็นปัจจัยคงสภาพของปาเต็งรังแต่หากมีไฟที่รุนแรงหรือเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีทำให้ต้นไม้รุ่นและกล้าไม้ตายเป็นจำนวนมากจะเป็นข้อจำกัดในการเติบโดขึ้นมาทดแทนไม้ยืนต้นในอนาคต การคงอยู่ของสภาพปาจะลดลงและสูญหายไปในที่สุด
คำสำคัญ: ผลของไฟ พืชพรรณ ปาเต็งรัง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาห้วยขาแข้ง
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”