การสำรวจและการติดตามตรวจสอบแมลงศัตรูไม้ต่างถิ่นบริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
การสำรวจและการติดตามตรวจสสอบแมลงศัตรูป่าไม้ต่างถิ่นบริเวณดอยอ่างขาง เพื่อต้องการทราบชนิดแมลงป่าไม้ ชนิดพรรณไม้ต่างถิ่น ลักษณะการทำลาย และลำดับความเสียหาย คำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ถึงพ. ศ. 2540 สำรวจแมลงป่าไม้ที่เข้าทำลายพรรณไม้ต่างถิ่นที่เจริญเติบโตได้ดีบริเวณดอยอ่างขาง ตามเส้นทางขอบแปลงกับเส้นทางกลางแปลง พบพรรณไม้ต่างถิ่นถูกแมลงป่าไม้เข้าทำลาย 6 ชนิด ได้แก่ Liquidambar formosana, Acacia confuse, Cinnamomum camphora, Fraxinus griffithii, Paulonia taiwanniana และ Dendrocalamus latiflorus โดย L. formossana ถูกแมลงป่าไม้เข้าทำลายชนิดแรกและพบแมลงป่าไม้ทำลายมากที่สุด 7 ชนิด จากทั้งหมด 15 ชนิด Parasa sp จัดเป็นชนิดที่สร้างความเสียหายมากที่สุดและเป็นประจำทุกปีประเภทการทำลายของแมลงป่าไม้พบ 5 ประเภท ได้แก่ ทำลายใบ ทำสายเปลือกนอก และเจาะลำต้น ทำลายเปลือกในและเจาะลำต้น เจาะหน่อไผ่ และดูดกินน้ำเลี้ยง แมลงป่าไม้ทำลายใบพบมากที่สุด 10 ชนิด การทำลายส่วนมากพบช่วงกลางฤดูฝน
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”