มูลค่าทางเศรษฐกิจและการจัดการป่าไผ่ซับลังกา จังหวัดลพบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
ป่าไผ่ซับลังกาเป็นแหล่งสำหรับพึ่งพาในการดำรงชีพของครัวเรือนหมู่บ้านป่าไม้ การศึกษานี้ต้องการชี้ให้เห็นถึงมูลค่าทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรป่าไม้ดังกล่าว ทั้งในด้านมูลค่าของทรัพยากรในที่ตั้ง และการเก็บเกี่ยวเป็นสินค้า ในสถานการณ์ปัจจุบันพบว่า การใช้ประโยชน์ของลำไผ่มีต่ำกว่าศักยภาพ (มีการใช้ประโยชน์ไปเพียง 3% ของปริมาณศักยภาพของลำไผ่) ในขณะที่การใช้ประโยชน์หน่อไม้มีสูงกว่าศักยภาพ (เกินจากปริมาณศักยภาพของจำนวนหน่อไม้ไปถึง 20%) จากสถานภาพของการจัดการทั้งของรัฐและชุมชนที่เป็นอยู่ ชี้ให้เห็นว่าการใช้ทรัพยากรป่าไผ่ดังกล่าวจะไม่นำไปสู่การมีผลผลิตที่ยั่งยืนได้
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”