ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านนิเวศน์เกี่ยวกับความยั่งยืนของสวนชาในป่าดิบเขาในภาคเหนือของประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านด้านนิเวศน์เกี่ยวกับความยั่งยืนของสวนชาในป่าดิบเขาในภาคเหนือประเทศไทยพบว่าการปลูกชาหรือเมี่ยง (ในภาษาพื้นเมือง) ในป่าดิบเขาได้รับการถ่ายทอดมาจากชนเผ่าขและถิ่นโดยมีการปลูกบนภูเขาสูงในแหล่งต้นน้ำลำธารในภาคเหนือซึ่งในปัจจุบันเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 14 เป็นส่วนใหญ่การใช้ประโยชน์ที่ดินประกอบด้วย 4 ส่วนคือที่อยู่อาศัย, สวนหลังบ้าน, สวนเมี่ยงและป่าต้นน้ำ-ป่าไม้ใช้สอยโดยพบว่าภูมิปัญญาชาวบ้านด้านนิเวศน์ในการจัดการสวนเมี่ยงกับต้นไม้ใหญ่เพื่อเป็นร่มเงาแก่ต้นเมี่ยงและให้ปุ๋ยการปลูกต้นเมี่ยงใกล้ต้นไม้ใหญ่เพื่อให้ได้รับความชุ่มชื้นและป้องกันการเหยียบย่ำของวัวการป้องกันไฟป่าโดยการถางวัชพืชในฤดูแล้งและเป็นแนวกันไฟไปในตัวการใช้ไม้พื้นนิยมใช้ไม้ทะโล้ก่อและมันปลา
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”