แนวความคิดของการใช้วนเกษตรในสวนยางพารา ที่ระยอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
เอกสารฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะชี้ให้เห็นว่าสวนยางพาราไม่สามารถใช้แทนป่าธรรมชาติดั้งเดิมเหมือนดังที่คิดได้โดยการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในอดีตที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทั้งในด้านของความหลากหลายของพันธุ์พืชพันธุ์สัตว์และความซับซ้อนของโครงสร้างทำให้ป่าธรรมชาติมีสมบัติในการดูดซับและเก็บกักน้ำฝนได้ดีกว่าสวนยางพาราซึ่งจะมีผลต่อเนื่องไปถึงการควบคุมสภาวะอากาศในท้องถิ่นที่ทำให้ฝนตกบ่อยและตกมากถ้าพื้นที่ป่าไม้มีบริเวณที่กว้างมากพอในขณะเดียวกันสวนยางพาราก็ยังมีความจำเป็นในการอนุรักษ์ดินและน้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพังทลายของดินจากนั้นจึงเป็นการนำเอาแนวความคิดดังกล่าวมาเปลี่ยนแปลงสวนยางพาราให้มีสภาพที่คล้ายคลึงกับป่าธรรมชาติด้วยการใช้ระบบวนเกษตร
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”