กำลังจับยึดซีเมนต์ของไม้ยูคาลิปตัสคามาลดูเลนซีส
Main Article Content
บทคัดย่อ
ไม้ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส เป็นไม้ชนิดแรกที่ได้มีการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตแผ่นชิ้นไม้อัดซีเมนต์ (wood cement particleboard) สำหรับโรงงานโรงแรกในประเทศไทย หลังจากได้มีการทดสอบวิจัยเพื่อหาคุณสมบัติการเกาะยึดระหว่างไม้กับซีเมนต์ตามวิธี Stick test แล้วปรากฏว่า ไม้ชนิดนี้ให้ค่าการเกาะยึดในสภาพธรรมดา โดยไม่ต้องใช้สารเคมีสูงกว่าไม้ยางพารา และเมื่อทำการทดสอบต่อไปโดยใช้สารเคมี ๓ ชนิด คือ อลูมินัมซัลเฟต, แคลเซียมคลอไรด์และโซเดียมซิลิเกต เพื่อเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ปรากฏว่าได้ค่ายังจับยึดสูงสุดเมื่อมีโซเดียมซิลิเกตเป็นตัวเร่ง รองลงมาคือ อลูมินัมซัลเฟต และแคลเซียมคลอไรด์ โดยมีค่า ๕๔๐.๕๖ ๔๙๐,๐๖ และ ๒๘๕.๗๘ นิวตัน ตามลำดับ และจากผลการเปรียบเทียบระหว่างปูนซีเมนต์ตราช้างและตราเพชร ปรากฏว่าปูนซีเมนต์ตราช้างให้ค่าการจับยึดไม้ยูคาลิปตัสคามาลดูเลนซิสสูงกว่าปูนซีเมนต์เพชรประมาณร้อยละ ๒๕
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”