ผลของ IBA ต่อการสร้างหน่อและการเจริญเติบโตของกล้วยหอมทองที่ขยายพันธุ์โดยวิธีผ่าเหง้า

Main Article Content

พรชัย หาระโคตร
ปริญญา พลจันทร์
ธัญพิสิษฐ์ พวงจิก

Abstract

Abstract


The objective of this experiment was to study effect of indole-3-butyric acid (IBA) on rooting, sucker production and growth of Kluai Hom-Thong [Musa (AAA group)], which was propagated through rhizome-cutting method. The experiment was conducted at the experiment field, Department of Agricultural Technology, Thammasat University, Rangsit Centre. The experiment was carried out by using CRD with four replications. Six different concentrations of IBA including 500, 1,000, 1,500, 2,000 and 2,500 ppm, compared with non-IBA treatment were studied. The results showed that banana sucker survival rate from all treatments were not significantly different (100 %). However, mean times to shoot emerging, root length, plant height and diameter, and number of leave/plant were statistically different. The control treatment was found the greatest of mean times to shoot emerging (23.36 days). However, 1,000 ppm IBA gave the highest of root length (14.50 cm), plant diameter (1.78 cm) and number of leave/plant (3.5 leaf/plant). Additionally, the results showed that banana rhizome treated with high concentrations of IBA decreased shoot emerging time and plant height. Therefore, the Kluai Hom-Thong propagation through rhizome-cutting treated with 1,000 ppm IBA was appropriate to induce sucker production and growth. 


Keywords: Kluai Hom-Thong; propagation; growth regulator; indole-3-butyric acid

Article Details

How to Cite
หาระโคตร พ., พลจันทร์ ป., & พวงจิก ธ. (2019). ผลของ IBA ต่อการสร้างหน่อและการเจริญเติบโตของกล้วยหอมทองที่ขยายพันธุ์โดยวิธีผ่าเหง้า. Thai Journal of Science and Technology, 8(4), 367–376. https://doi.org/10.14456/tjst.2019.44
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

พรชัย หาระโคตร

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ปริญญา พลจันทร์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ธัญพิสิษฐ์ พวงจิก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

เจนจิรา ชุมภูคำ, พรรณวิภา อรุณจิตต์ และอารยา อาจเจริญ เทียนหอม, 2557, ผลของ IBA และ NAA ต่อการเกิดรากและการแตกยอดในกิ่งปักชำหม่อนพันธุ์เชียงใหม่ 60, แก่นเกษตร 42: 162-167.
ณัฐพงค์ จันจุฬา, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์ และอนันต์ พิริยะภัทรกิจ, 2560, อิทธิพลของสารในกลุ่มออกซินต่อการเกิดรากและเจริญเติบโตของมันเทศประดับ, Thai J. Sci. Technol. 6: 53-59.
ธัญพิสิษฐ์ พวงจิก และสุทธินันท์ ธงศรี, 2552, ผลของสาร IBA ต่อการขยายพันธุ์ไผ่เลี้ยงด้วยวิธีการตอน, ว.การจัดการป่าไม้ 3: 67-74.
นพดล จรัสสัมฤทธิ์, 2537, ฮอร์โมนพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ,
ปณิดา กันถาด, 2554, การวิจัยศึกษาการผลิตต้นกล้ากล้วยหอมทองปลอดโรคจากการผ่าหน่อ, รายงานวิจัย, ศูนย์คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร, ชุมพร.
พัชรี สิริตระกูลศักดิ์, ตรีญาภรณ์ ใจเที่ยง และสกุลกานต์ สิมลา, 2560, ผลของฮอร์โมน IBA ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของยอดชำดาวเรือง, น. 535-541, ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 13, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
พัชรียา บุญกอแก้ว, 2551, การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตในการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ, พิมพ์ครั้งที่ 1, โรงพิมพ์ เอช เอ็น กรุ๊ป จำกัด, กรุงเทพฯ,
พีรเดช ทองอำไพ, 2529, ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ : แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, ไดนามิคการพิมพ์, กรุงเทพฯ.
พีรเดช ทองอำไพ, 2537, ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ : แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 4, วิชัยการพิมพ์, กรุงเทพฯ.
มนตรี ธนสมบัติ, เจษฎา ศิวบุรินทมิตร, พงศ์การ พงศ์พัฒนะนุกุล, กฤษณา กฤษณพุกต และเสริมศิริ จันทร์เปรม, 2556, การใช้ NAA และ IBA เพื่อส่งเสริมการออกรากของกิ่งปักชำนางแย้ม, ว.เกษตรพระจอมเกล้า 31: 17-25.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดระยอง, 2553, การขยายพันธุ์กล้วยน้ำว้าโดยวิธีการผ่าหน่อ, สํานักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จังหวัดระยอง กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ระยอง.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2559, สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสินค้า, เอกสารสถิติการเกษตรเลขที่ 402, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
อภิชาติ ศรีสอาด และจันทรา อู่สุวรรณ, 2556, คู่มือการเพาะปลูกกล้วยเศรษฐกิจเงินล้าน, พิมพ์ครั้งที่ 1, นาคา อินเตอร์มีเดีย, กรุงเทพฯ.
อภิพรรณ พุกภักดี, ไสว พงษ์เก่า และวิจารณ์ วิชชุกิจ, 2529, เอกสารคำสอน วิชา พร.451 สรีรวิทยาของการผลิตพืช, ภาควิชาพืชไร่นา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน, กรุงเทพฯ.
ISTA, 2007, ISTA Method Validation for Seed Testing, International Seed Testing Association, Switzerland.
Jiang, Z., Li, J. and Qu, L.J., 2017, Auxins, pp. 39-76, In Li, J., Li, C. and Smith, S. (Eds.), Hormone Metabolism and Signaling in Plants, Academic Press, Massachusetts.
Muday, G.K., Rahman, A. and Binder, B.M., 2012, Auxin and ethylene: Collaborators or competitors?, Trends Plant Sci. 17: 181-195.
Russell, R.S., 1977, Plant Root Systems: Their Function and Interaction with The Soil, McGraw-Hill Book Company (UK), Ltd., London.
Veloccia, A., Fattorini, F., Della, R.A., Sofo, S., D’Angel, C., Betti, C. and Altamura, M.M., 2016, Ethylene and auxin interaction in the control of adventitious rooting in Arabidopsis thaliana, J. Exp. Bot. 67: 6445-6458.