การคัดแยกแบคทีเรียจากน้ำย้อมครามในหม้อย้อมและดินบริเวณย้อมครามเพื่อประยุกต์ใช้ในการย้อมและบำบัดน้ำเสีย

Main Article Content

กันต์กนิษฐ์ สุขขะ
เฉลิมวุธ สมปาก
ธีระชัย ธนานันต์
นิรมล ศากยวงศ์
นิชาดา เจียรนัยกุล

Abstract

Abstract


Bacterial strains from natural indigo dyeing process at indigo-dyed pots and dyeing soil were isolated and identified, for application of the dyeing process and decolorizing in wastewater treatment. By analyzing morphological and molecular characteristics with 16S rRNA genes sequence, the 23 isolated bacteria were classified into 5 genera, i.e. Bacillus (15 isolates), Pseudomonas (4 isolates), Acinetobacter (2 isolates), Lysinibacillus (1 isolate), and Aerococcus (1 isolate). A preliminary study demonstrated that bacteria in the indigo-dyed pot could change indican to indoxyl and glucose. The results showed that Bacillus kochii SKTU5 was able to produce 63.67±6.59 mM glucose at 30 ºC for 96 hours. However, Acinetobacter baumannii SKBT2, the isolated soil bacteria from the dyeing area, could decolorize the indigo dye as 79.13±0.43 % at the original concentration of 25 mg/L, under the static condition at 37 ºC for 48 hours. These results can be further applied to create the starter seeds for indigo dyeing process and decolorizing indigo dye in wastewater treatment. 


Keywords: natural indigo dyeing process; decolorization; indigo dye; 16S rRNA gene

Article Details

How to Cite
สุขขะ ก., สมปาก เ., ธนานันต์ ธ., ศากยวงศ์ น., & เจียรนัยกุล น. (2019). การคัดแยกแบคทีเรียจากน้ำย้อมครามในหม้อย้อมและดินบริเวณย้อมครามเพื่อประยุกต์ใช้ในการย้อมและบำบัดน้ำเสีย. Thai Journal of Science and Technology, 8(5), 552–564. https://doi.org/10.14456/tjst.2019.60
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

กันต์กนิษฐ์ สุขขะ

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

เฉลิมวุธ สมปาก

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ธีระชัย ธนานันต์

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

นิรมล ศากยวงศ์

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

นิชาดา เจียรนัยกุล

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ถนนมหาวิทยาลัย ตำบลสุรนารี อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000

References

นฤมล ธนานันต์ และธีระชัย ธนานันต์, 2554, การตรวจสอบการปนเปื้อนแบคทีเรียในกุ้งแช่แข็งด้วยมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 19(2): 12-17.
นฤมล ธนานันต์, นวัฒน์ เกตุสวัสดิวงศ์, ศรีสุดา ปัณณานุสรณ์ และธีระชัย ธนานันต์, 2559, การระบุชนิดของแบคทีเรียกรดแลคติกที่แยกได้จากน้ำพริกด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน 16S rRNA, Thai J. Sci. Technol. 5(2): 160-168.
ปิยวรรณ กลมเกลี้ยง, ธีระชัย ธนานันต์, นิรมล ศากยวงศ์ และสายัณห์ สมฤทธิ์, 2557, ผลการจำแนกราด้วยวิธีไอทีเอสพีซีอาร์และความ สามารถในการบำบัดสีรีแอคทีฟ RR141, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22(5): 683-694.
พิชญาพร ภิญญ์ญาพัช, ธวัชชัย ชัยธวัชวิถี และเอกอาทิตย์ ฤทธิเดชยิ่ง, 2561, การคัดแยกและการระบุสายพันธุ์เชื้อจุลินทรีย์เพื่อการผลิตสีย้อมห้อมแบบธรรมชาติ, ว.วิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 35(1): 45-54.
สมพงศ์ โอทอง และเบญจวรรณ บัวขวัญ, 2556, การพัฒนากล้าเชื้อจุลินทรีย์เพื่อใช้ในกระบวนการหมักสีครามจากต้นครามและการเก็บรักษาสีครามในสภาพเหมาะสมต่อการย้อม, รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ, มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา, 65 น.
อนุรัตน์ สายทอง, 2555, ไหมย้อมครามธรรมชาติ, ว.วิทยาศาสตร์ มข. 40(2): 423-435.
Aino, K., Narihiro, T., Minamida, K., Kamagata, Y., Yoshimune, K. and Yumoto, I., 2010, Bacterial community characterization and dynamics of indigo fermentation, FEMS Microbiol. Ecol. 74: 174-183.
Campos, R., Kandelbauer, A., Robra, K.H., Cavaco-Paulo, A. and Gubitz, G.M., 2001, Indigo degradation with purified laccases from Trametes hirsuta and Sclerotium rolfsii, J. Biotechnol. 89: 131-139.
Clark, R.J.H., Cooksey, C.J., Daniels, M.A.M. and Withnall, R., 1993, Indigo, woad, and Tyrian Purple: Important vat dyes from antiquity to the present, Endeavour 17: 191-199.
Heuer, H., Krsek, M., Baker, P., Smalla, K. and Wellington, E.M., 1997, Analysis of actinomycete communities by specific amplification of genes encoding 16S rRNA and gel-electrophoretic separation in denaturing gradient, Appl. Environ. Microbiol. 63: 3233-3241.
Li, H.X., Xu, B., Tang, L., Zhang, J.H. and Mao, Z.G., 2015, Reductive decolorization of indigo carmine dye with Bacillus sp. MZS10, Int. Biodeterior. Biodegrad. 103: 30-37.
Minami, Y., Takao, H., Kanafuji, T., Miura, K., Kondo, M., Hara Nishimura, I. and Matsubara, H., 1997, bata-glucosidase in the indigo plant: Intracellular localization and tissue specific expression in leaves, Plant. Cell. Physiol. 38: 1069-1074.
Ramya, M., Anusha, B. and Kalavathy, S., 2008, Decolorization and biodegradation of indigo carmine by a textile soil isolate Paeni bacillus larvae, Biodegradation 19: 283-291.
Schmidt, H., 1997, Indigo-100 Jahre industrielle Synthese, Chemie in unserer Zeit 31: 121-128.
Song, J., Imanaka, H., Imamura, K., Kajitani, K. and Nakanishi, K., 2010, Development of a highly efficient indigo dyeing method using indican with an immobilized beta-glucosidase from Aspergillus niger, J. Biosci. Bioeng. 110: 281-287.