ผลของสภาวะความเค็มต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินปลูกและการร่วงของใบทุเรียนพันธุ์ก้านยาว
Main Article Content
Abstract
Salinity stress affected changing of soil properties and durian tree falling leaves of durian cv. Kan Yao was investigated by watering 90-100 cm height Kan Yao durian with 0.2 (T2), 0.5 (T3), 1.0 (T4), and 2.0 (T5) ppt NaCl solutions every 2 days for 8 weeks compared with control treatment (T1). Soil pH, electrical conductivity (EC), organic matter (OM), available phosphorus (P), exchangeable potassium (K), sodium (Na), Cl (chloride), magnesium (Mg), calcium (Ca), and salt absorption ratio (SAR) and water EC and water salinity were measured by standard methods. The percentage of durian tree falling leaves was observed at week 8 after treated. Results revealed that all concentrations of NaCl solutions (T2-T5) affected soil pH, EC, SAR, Na, and Cl which involving Mg and Ca sediment formed. Salinity stress by watering Kan Yao durian with 1.0 (T4), and 2.0 (T5) ppt NaCl solutions affected durian tree falling leaves within 8 weeks to 79.2 and 100 %, respectively. By the way, watering fresh water in canal with 0.07 ppt salinity also affected durian tree falling leaves within 8 weeks to 53.9 %. Salinity stress did not affect organic matter, P, and K but water EC and water salinity. Therefore, this study indicates that salinity stress affects changes of soil properties and durian tree falling leaves. The water salinity problem needs to be solved immediately for protecting the Kan Yao durian production area in Nontaburi province from salinity stress problem.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อความที่ปรากฏในแต่ละเรื่องของวารสารเล่มนี้เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เขียนต้องยืนยันว่าความรับผิดชอบต่อทุกข้อความที่นำเสนอไว้ในบทความของตน หากมีข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องใด ๆ
References
กรมพัฒนาที่ดิน, 2544, เอกสารคู่มือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เรื่อง ดินเค็ม, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, แหล่งที่มา : https://www.ldd.go.th/Web_Soil/acid.htm, 1 มิถุนายน 2562.
จันทร์ธิรา ดวงจันทร์ และศิริพรรณ บรรหาร, 2559, ผลของเกลือโซเดียมคลอไรด์ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบ ปริมาณโพรลีน และกิจกรรมของเอนไซม์ซูเปอร์ออกไซด์ดิสมิวเทสในถั่วเหลือง (Glycine max (L.) Merrill), ว.วิทยาศาสตร์ คชสาส์น 38(2):
36-49.
ทรงชัย ทองปาน, 2562, การขยายตัวของเมืองกับการลดลงของสวนทุเรียนนนท์, ว.สังคมวิจัยและพัฒนา 1(2): 23-41.
ธนภูมิ ศิริงาม, 2560, ลักษณะทางสรีรวิทยาของข้าวที่ตอบสนองต่อสภาวะความเค็ม, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 25(6): 1025-1038.
ปราณี จิตกรณ์กิจศิลป์, 2533, ศักยภาพการผลิตและการส่งออกทุเรียน, ว.พัฒนบริหารศาสตร์ 30(2): 111-123.
สำนักข่าวไทย, ปัญหาน้ำเสีย-น้ำเค็มรุกสวนทุเรียนนนท์, แหล่งที่มา : https://tna.mcot.net/view/V1iW62jQC, 1 มิถุนายน 2562.
อรุณี ยูวะนิยม, 2540, ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, เอกสารคู่มือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เรื่อง ดินเค็ม, กลุ่มปรับปรุงดินเค็ม กองอนุรักษ์ดินและน้ำ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
Dionisio-Sese, M.L. and Tobita, S., 1998, Antioxidant responses of rice seedlings to salinity stress, Plant Sci. 135: 1-9.
Kumar, J., Singh, S., Singh, M., Srivastava, P.K., Mishra, R.K., Singh, V.P. and Prasad, S.M., 2017, Transcriptional regulation of salinity stress in plants: A short review, Plant Gene 11: 160-169.
Lang, I., Sassmann, S., Schmidt, B. and Komis, G., 2014, Plasmolysis: loss of turgor and beyond, Plants 3: 583-593.
Volgger, M., Lang, I., Ovecka, M. and Lichtscheidl, I., 2010, Plasmolysis and cell wall deposition in wheat root hair, Postoplasma 243: 51-62.
Walkley, A. and Black, I.A., 1934, An examination of Degtjareff method for determining organic carbon in soils: Effect of variations in digestion conditions and of inorganic soil constituents, Soil Sci. 63: 251-263