การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชครามสกุล Indigofera โดยใช้เทคนิคสก๊อต

Main Article Content

นฤมล ธนานันต์
ศุภรัตน์ บัวบาน
ธีระชัย ธนานันต์

Abstract

Currently, Indigofera is popularly used as a raw material for the production of natural dyes because it is well known that indigo plants contain indigo substance. When exposed to air it is changed to indigo blues, which can give a navy-blue color in the weaving yarn. In addition, indigo plant is an herb to relieve swelling and pain from insect bites as well. The aim of this research was to evaluate the genetic relations of 15 Indigofera samples using start codon targeted (SCoT) technique. Eighty SCoT primers were screened, and 18 primers were able to be increased for DNA amplification. The total of 185 DNA bands appeared in sizes ranging from 200 to 2,850 base pairs, resulting in 5 monomorphism bands and 180 polymorphism bands (98 %). A dendrogram using NTSYS-pc version 2.01e was constructed using unweighted pair group method with arithmetic mean (UPGMA). The coefficients of similarity were in a range of 0.46-0.88, and could separate 15 Indigofera samples into 7 groups. The results of this research can be used to plan for conservation and further breeding.

Article Details

How to Cite
ธนานันต์ น., บัวบาน ศ., & ธนานันต์ ธ. (2020). การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชครามสกุล Indigofera โดยใช้เทคนิคสก๊อต. Thai Journal of Science and Technology, 9(2), 333–341. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.44
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

นฤมล ธนานันต์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180

ศุภรัตน์ บัวบาน

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ธีระชัย ธนานันต์

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

ฐิตาพร มณีเนตร, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2562, การจาแนกพันธุ์และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยไม้สกุลหวายหมู่แคลิสตาด้วยเครื่องหมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 8(5): 544-551.

เต็ม สมิตินันทน์, 2523, ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง), ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฟันนี่พับบลิชชิง, กรุงเทพฯ.

ทัศนีย์ สิงห์ศิลารักษ์, จุฑามาศ เจียมเจือจันทร์, เปรมณัช ขุนปักษี, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการจําแนกข้าวปลูกบางพันธุ์ด้วยเครื่องหมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 6(3): 252-261.

ทีปกา มีเสงี่ยม, เปรมณัช ขุนปักษี, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการจําแนกพริกด้วยเครื่องหมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 6(3): 262-270.

ธีระชัย ธนานันต์, ทีปกา มีเสงี่ยม และนฤมล ธนานันต์, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการระบุชนิดของกล้วยไม้รองเท้านารีสกุล Paphiopedilum สกุลย่อย Brachypetalum หมู่ Brachypetalum ด้วยเครื่องหมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 6(2): 161-170.

ธีระชัย ธนานันต์, ทีปกา มีเสงี่ยม และสุพัตรา โพธิ์เอี่ยม, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกระท้อนด้วยเครื่องหมายสก๊อต, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 25: 1015-1024.

ธีระชัย ธนานันต์, พรประภา ศิริเทพทวี, ภัทรพร คุ้มภัย และนฤมล ธนานันต์, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการระบุชนิดของกล้วยไม้สกุลรองเท้านารีกลุ่มใบเขียวด้วยเครื่องหมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 6(2): 171-178.

นฤมล ธนานันต์, วิภาวรรณ ประสิทธิ์ และธีระชัย ธนานันต์, 2555, การจำแนกข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ปรับปรุงจากพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ด้วยเทคนิคแฮตอาร์เอพีดี, Thai J. Sci. Technol. 1(3): 169-179.

นฤมล ธนานันต์, จุฑามาศ เจียมเจือจันทร์ และธีระชัย ธนานันต์, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการระบุชนิดของกล้วยไม้สกุลก้านก่อด้วยเครื่องหมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 6(2): 152-160.

นิ่มนวล จันทรุญ, 2560, คราม : สีย้อมธรรมชาติ, แหล่งที่มา : http://research.msu.ac.th/artculture/?p=540, 24 กุมภาพันธ์ 2560.

พรประภา ศิริเทพทวี, ฐิตาพร มณีเนตร, เปรมณัช ขุนปักษี, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และการจําแนกกล้วยด้วยเครื่อง หมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 6(3): 271-278.

สุรกฤษฏิ์ สุขสกุล, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2561, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการจาแนกบัวสายและลูกผสมด้วยเครื่องหมายสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 7(6): 570-579.

Agarwal, A., Gupta, V., Haq, S.U., Jatav, P.K., Kothari, S.L. and Kachhwaha, S., 2019, Assessment of genetic diversity in 29 rose germplasms using SCoT marker, J. King Saud Univ. Sci. 31: 780-788.

Collard, B.C.Y. and Mackill, D.J., 2009, Start codon targeted (SCoT) polymorphism: A simple, novel DNA marker technique for generating gene-targeted marker in plants, Plant Mol. Biol. Rep. 27: 86-93.

Doyle, J.J. and Doyle, J.L., 1987, A rapid DNA isolation procedure for small quantities of fresh leaf tissue, Phytochem. Bull. 19: 11-15.

Igwe, D.O., Afiukwa, C.A., Ubi, B.E., Ogbu, K.I., Ojuederie, O.B. and Ude, G.N., 2017, Assessment of genetic diversity in Vigna unguiculata L. (Walp) accessions using inter-simple sequence repeat (ISSR) and start codon targeted (SCoT) polymorphic markers, BMC Genet. 18(1): 98.

Luo, C., He, X.H., Chen, H., Ou, S.J. and Gao, M.P., 2010, Analysis of diversity and relationships among mango cultivars using start codon targeted (SCoT) markers, Biochem. Syst. Ecol. 38: 1176-1184.

Renukadevi, K.P. and Suhani, S.S., 2011, Determination of antibacterial, antioxidant and cytotoxicity effect of Indigofera tinctoria on lung cancer cell line NCI-h69, Int. J. Pharm. 7: 356-362.

Rohlf, F.J., 2002, NTSYpc Numerical Taxonomy and Multivariate Analysis System, Applied Biostatistics, Incorporated, New York.

Zeng, B., Zhang, Y., Huang, L.K., Jiang, X.M., Luo, D. and Yin, G.H., 2014, Genetic diversity of orchardgrass (Dactylis glomerata L.) germplasms with resistance to rust diseases revealed by Start Codon Targeted (SCoT) markers, Biochem. Syst. Ecol. 54: 96-102.