ประสิทธิภาพของกระดาษดูดซับเอทิลีนจากกาบกล้วยที่มีถ่านกัมมันต์ในการยืดอายุการเก็บรักษากล้วยหอมทอง

Main Article Content

จิตตา สาตร์เพ็ชร์
มยุรา ล้านไชย
ประชุมพร แสนรักษ์
เนตรนภา ทรัพย์ประโคน
คนึงนิจ บุศราคำ

Abstract

The effect of ethylene absorber paper from banana sheath containing various concentrations of activated carbon for prolonging storage life of ‘Hom Thong’ banana was studied. Banana sheath, an agricultural waste, contains abundant cellulose, which could be used to produce ethylene absorber paper. The raw banana sheath was digested with 5 % sodium hydroxide solution and cleaned with tap water prior drying. The activated carbon powders at concentrations of 0, 10, 20 and 30 % by dry banana fiber weight were added. After forming the paper, it was tested for tear strength value, water vapor transmission rate and ethylene absorber efficiency properties. The results from this study presented that banana sheath paper containing with 30% of activated carbon could be the most absorber paper to prolong ‘Hom Thong’ banana storage at temperature of 25 °C and 70±5 % RH for 12 days, with retained ethylene concentration of 0.05 ppm. From the data it was found that the physical characteristics, chemical and physiological changes of ‘Hom Thong’ banana after the storage has shown the best quality.

Article Details

How to Cite
สาตร์เพ็ชร์ จ., ล้านไชย ม., แสนรักษ์ ป., ทรัพย์ประโคน เ., & บุศราคำ ค. (2020). ประสิทธิภาพของกระดาษดูดซับเอทิลีนจากกาบกล้วยที่มีถ่านกัมมันต์ในการยืดอายุการเก็บรักษากล้วยหอมทอง. Thai Journal of Science and Technology, 9(4), 500–511. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.53
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

จิตตา สาตร์เพ็ชร์

ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เทคโนธานี ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

มยุรา ล้านไชย

ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เทคโนธานี ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ประชุมพร แสนรักษ์

ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เทคโนธานี ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

เนตรนภา ทรัพย์ประโคน

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520

คนึงนิจ บุศราคำ

ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เทคโนธานี ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

จริงแท้ ศิริพานิช, 2544, สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

จริงแท้ศิริพานิช, 2549, ชีววิทยาหลังการเก็บเกี่ยวและการวายของพืช, โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.

เบญจมาศ ศิลาย้อย, 2558, กล้วย, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ปวีณพล คุณารูป และวาสนา พิทักษ์พล, 2558, ผลของ 1-เมทิลไซโคลโพรพีนต่อการชะลอการสุกและคุณภาพกล้วยกรอบของกล้วยไข่พันธุ์พระตะบอง, แก่นเกษตร 43(พิเศษ 1): 126-131.

พรชัย ราชตนพันธุ์, พิชญาภรณ์ มูลพฤษ์ และภัทริน วงศ์โกศลจิต, 2551, การประยุกต์ใช้สารดูดซับเอทิลีนจากไดอะทอไมต์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษากล้วยหอมทอง, ว.วิทยาศาสตร์เกษตร 39(พิเศษ 3): 111-114.

วาริช ศรีละออง, กฤติกา ตันประเสริฐ และณัฐชัย พงประเสริฐ, 2557, ผลของการใช้กระดาษเคลือบสารดูดซับเอทิลีนและบรรจุภัณฑ์ปลดปล่อยเอทิลีนต่อคุณภาพกล้วยไข่ภายหลังการขนส่ง, ว.วิทยาศาสตร์เกษตร 42(พิเศษ 2): 733-736.

วุฒิรัตน์ พัฒนิบูลย์, พรชัย ราชตนะพันธุ์ และพิชญา บุณประสม, 2550, การผลิตสารดูดซับเอทธิลีนเพื่อยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยวกล้วยหอมทอง, ว.วิทยาศาสตร์เกษตร 38(พิเศษ 5): 325-328.

ศิริพร เต็งรัง, กนกศักดิ์ ลอยเลิศ, วิมลวรรณ วัฒนวิจิตร, นภัสสร เลียบวัน, สุปรียา ศุขเกษม และธีรชาติ วิชิตชลชัย, 2559, วิจัยและพัฒนากระดาษดูดซับเอทิลีนจากเปลือกทุเรียน, น. 162-178, ผลงานวิจัยดีเด่น, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.

สุจยา ฤทธิศร, สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ และศิริพร ลุนพรม, 2554, การผลิตเยื่อกระดาษจากกาบกล้วยน้ำว้าด้วยวิธีทางชีวภาพโดยใช้ Tricho dermaviride, ว.วิทยาศาสตร์ มข. 40(3): 899-912.

สุพัฒน์ คาไทย, 2550, การประเมินประสิทธิภาพกระดาษถ่านกัมมันต์ในการยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้เศรษฐกิจ, ว.วิทย.กษ. 38(พิเศษ 5): 25-28.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2562, สถิติการส่งออกกล้วยสด ตั้งแต่ปี 2559-2562, ระบบฐานข้อมูลและการให้บริการข้อมูลการค้าเกษตรต่างประเทศของประเทศไทย, กรุงเทพฯ.

Ali, Z.M., Armugam, S. and Lazan, H., 1995, β-galactosidase and its significance in ripening mango fruit, Phytochemistry 38: 1109-1114.

Arnon, H., Zaitsev, Y., Porat, R. and Poverenov, E., 2014, Effects of carboxymethylcellulose and chitosan bilayer edible coating on postharvest quality of citrus fruit, Postharvest Biol. Technol. 87: 21-26.

Bailén, G., Guillén, F., Castillo, S., Serrano, M., Valero, D., Romero, D.M., 2006, Use of

Activated Carbon inside Modified Atmosphere Packages to Maintain Tomato Fruit, J. Agric. Food Chem. 54: 2229-2235.

Rooney, M.L., 1995, Ethylene-removing Packaging, pp. 38-54, In Active Food Packaging, Chapman & Hall, London.

Simmonds, N.W., 1966, Banana, Longman Group, London.

Sothornvit, R. and Sampoompuang, C., 2012, Rice straw paper in corporated with activated carbon as an ethylene scavenger in a paper-making process, Int. J. Food Sci. Technol. 47: 511-517.

Tanachporn, S., 2015, Activated carbon filter, Valitech Co., Ltd., Bangkok., 3p.

Wyman, H., and Palmer, J.K., 1963, The organic acid of the ripening banana fruit, Plant Physiol. 391: 630-633.