การวิเคราะห์โครงข่ายด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจัดการปัญหาการจัดเส้นทางสำหรับยานพาหนะในการขนส่งข้าวหอมมะลิ กรณีศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด

Main Article Content

อภิษฎา ไชยงาม
ธัญญรัตน์ ไชยคราม

Abstract

This study is about the network analysis by using geographic information systems (GIS) to manage vehicle routing problem of the Jasmine rice transportation route from Petch Thung Kula Ronghai community enterprise in Roi Et province to multiple delivery districts. The objectives of this study are to study the transportation route of Jasmine rice from the enterprise group to the customer's location, and to analyze and suggest a suitable management vehicle route and cost reduction of shipping by using vehicle routing problem (VRP) in the condition of distance, expense, and weight of the goods. For the study of the transportation route of Jasmine rice from the enterprise group to the customer's location, there are 43 customers in 8 districts which are 16 customers in Muang district, 6 customers in each Kaset Wisai and Suvarnabhumi districts, 4 customers in Thawat Buri district, 3 customers in each Muang Suang, Chaturaphak Phiman, and At Samat districts and 2 customers in Changhan district. The result of the first objective shows that the community enterprise has to use 8 routes to deliver the Jasmine rice to customers which total distance is 675 kilometers and it also loses fuel 44.82 liters. Furthermore, the community enterprise spends money on transport cost of 954 baht in each delivery round. For the study of the analysis and suggestion for a suitable management vehicle route and cost reduction of shipping by using VRP in the condition of distance, expense, and weight of the product, it shows that VRP can reduce the number of delivered routes from 8 to 3 routes. This approach reduces the total distance from 675 to 413 kilometers and spends fuel only 17.29 liters. Moreover, the community enterprise spends money on transport costs only 586 baht which can minimize the transportation cost of 368 baht.

Article Details

How to Cite
ไชยงาม อ., & ไชยคราม ธ. (2020). การวิเคราะห์โครงข่ายด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจัดการปัญหาการจัดเส้นทางสำหรับยานพาหนะในการขนส่งข้าวหอมมะลิ กรณีศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. Thai Journal of Science and Technology, 9(5), 617–629. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.66
Section
วิทยาศาสตร์กายภาพ
Author Biographies

อภิษฎา ไชยงาม

ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

ธัญญรัตน์ ไชยคราม

ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

References

กรมการข้าว, 2560, ข้าวหอมมะลิสุดยอดข้าวหอมไท, แหล่งที่มา : http://brpd.ricethailand.go.th/index.php/standard-rice/90-hommali, 12 พฤศจิกายน 2562.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, 2562, ระบบการขนส่งของประเทศไทยในปัจจุบัน, แหล่งที่มา : https://blog.giztix.com, 12 พฤศจิกายน 2562.

ณัฐนิชา ประยูรศุข, ณัฐพัชร์ ภัทรเสฏฐิ์, พงศ์สิริ จันทร์สว่าง และสหรัฐ ผลดีประสิทธิ์, 2561, การจัดเส้นทางการขนส่งวัตถุดิบและการกระจายสินค้าของธุรกิจนม, ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560, โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์เพื่ออนาคตประเทศไทย, แหล่งที่มา : http://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2017/20170702-4-Infrastructure-Logistics.pdf, 29 ตุลาคม 2562.

กลุ่มมาตรฐานทางหลวงท้องงถิ่น, 2549, มาตรฐานชั้นทางสำหรับทางหลวงท้องถิ่น, สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท, กรุงเทพฯ.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554, ข้าวนาปี : เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ จำแนกตามพันธุ์ รายภาค และรายจังหวัด ปีเพาะปลูก 2554/55, แหล่งที่มา : http://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/production/fieldcrop/majorrice/6-54-55.pdf,

พฤศจิกายน 2562.

สุเพชร จิรขจรกุล, 2560, เรียนรู้ระบบภูมิสารสนเทศด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 10.5 for Desktop, บริษัท เอ.พี.กราฟิคไซน์และการพิมพ์, กรุงเทพฯ.

อุทุมพร อินทร์จอหอ และธัญญรัตน์ ไชยคราม, 2562, การวิเคราะห์โครงข่ายด้วยระบบสาร สนเทศภูมิศาสตร์เพื่อหาแบบจำลองที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับจุดรองรับขยะมูลฝอยในพื้นที่เทศบาลนครนครราชสีมา, Thai J. Sci. Technol. 8(3): 226-237.