การชักนำให้เกิดการกลายในกล้วยหอม (Musa spp.) จีโนม AAA ด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันและตรวจสอบด้วยเครื่องหมายแฮตอาร์เอพีดี

Main Article Content

ศิริญยา คาชิมา
ธีระชัย ธนานันต์
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ
กิตติ โพธิปัทมะ

Abstract

Natural breeding in banana is limited due to high sterility and parthenocarpic fruit. So, it gives low fertility when breeding. This study induced mutation in banana genus Musa which cultured in vitro and detected mutation by using HAT-RAPD. Musa cvs. ‘Kluai Hom Thong’, ‘Kluai Hom Thong Taiwan’ and ‘Kluai Hom Khieo’ tissues were cultured and radiated with acute gamma radiation at 0, 20, 40, 60 and 80 grays. These banana tissues were cultured on MS medium supplemented with 2 mg/L BA. It was found that all banana tissues were dead when radiated more than 40 grays. Tissues of ‘Kluai Hom Thong Taiwan’ and ‘Kluai Hom Khieo’ had 100 % survival rate when radiated with 20 grays while 80 % survival rate was obtained in ‘Kluai Hom Thong’. When studied LD30 in 3 types of banana, it was 8, 22.5 and 29.4 grays, respectively. This result showed that each types of banana had different types of tolerance with gamma radiation. This made banana tissues had different growth rates. The LD30 gave different mutation characteristics such as short leaf, leaf curl, stunt and pale pseudobulb. When detected their characters with HAT-RAPD technique by using primer E32, this method classifies the genetic differences in banana trees from treated and non-treated radiation.

Article Details

How to Cite
คาชิมา ศ., ธนานันต์ ธ., ขจรผดุงกิตติ ย., & โพธิปัทมะ ก. (2020). การชักนำให้เกิดการกลายในกล้วยหอม (Musa spp.) จีโนม AAA ด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันและตรวจสอบด้วยเครื่องหมายแฮตอาร์เอพีดี. Thai Journal of Science and Technology, 9(5), 668–679. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.71
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

ศิริญยา คาชิมา

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ธีระชัย ธนานันต์

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

กิตติ โพธิปัทมะ

สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800

References

กิตติ โพธิปัทมะ, สุริยา ฤธาทิพย์ และกรวิศฎ์ ณ ถลาง, 2555, การแปรผันและการกลายของพืชจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, ว.วิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 22(1): 225-231.

จินดา เดชบุญ, 2555, การชักนำความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกล้วยไม้ลูกผสมสกุล Doritaenopsis โดยการใช้สารโคลชิซีนและรังสีแกมมาในสภาพปลอดเชื้อ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา.

นฤมล ธนานันต์, สุรีย์พร พุ่มเอี่ยม และธีระชัย ธนานันต์, 2556, การจำแนกพันธุ์และความ สัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยไม้ช้างและลูกผสมด้วยเครื่องหมายแฮตอาร์เอพีดี, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 21(4): 360-370.

เบญจมาศ ศิลาย้อย และกรรณิกา เกรียงยะกุล, 2544, การชักนำให้กล้วยไข่เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีแกมมาร่วมกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, น. 197-202, สัมนาวิชาการพันธุศาสตร์ ครั้งที่ 12 : พันธุศาสตร์ยุคปฏิวัติยีน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เบญจมาศ ศิลาย้อย, 2545, กล้วย, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ปวีณนุช ศรีช่วย, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, เฌอมาลย์ วงศ์ชาวจันท์, สุวิสา พัฒนเกียรติ และอนันต์ พิริยะภัทรกิจ, 2561, ผลของรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อข้อมันเทศประดับเลื้อยในสภาพปลอดเชื้อ, Thai J. Sci. Technol. 7(3): 239-248.

พันธิพา ลิ้มสงวน, สนธิชัย จันทร์เปรม, อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร, ปัทมา ศรีน้ำเงิน และเสริมศิริ จันทร์เปรม, 2560, การปรับปรุงพันธุ์โดยชักนำการกลายพันธุ์ในเบญจมาศโดยใช้รังสีแกมมาและตรวจสอบการกลายพันธุ์โดยวิธีเอเอฟแอลพี, ว.วิทยาศาสตร์เกษตร 48(3): 334-345.

ภิญญารัตน์ กงประโคน และนัททรียา จิตบำรุง, 2560, การใช้รังสีแกมมาชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาในกุหลาบหนู, ว.แก่นเกษตร 45(พิเศษ 1): 1296-1302.

วสันต์ ชุณห์วิจิตรา, 2558, การปลูกกล้วยหอมทอง, ข่าวสารเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ 60(2): 59-72.

ศรัญญู ถนิมลักษณ์, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, พัฒนา สุขประเสริฐ, พีรนุช จอมพุก และอนันต์ พิริยะภัทรกิจ, 2561, การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในบานไม่รู้โรยลูกผสมพันธุ์กลายโดยการฉายรังสีแกมมา, Thai J. Sci. Technol. 7(1): 48-57.

ศิริญยา คาชิมา, ธีระชัย ธนานันต์ และยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ, 2562, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยจีโนม AAA ด้วยเทคนิคแฮตอาร์เอพีดี, Thai J. Sci Technol 8(3): 300-308.

สุพิชชา สิทธินิสัยสุข, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, พีรนุช จอมพุก และณัฐพงค์ จันจุฬา, 2561, ผลของรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อต้นลินเดอร์เนียในสภาพปลอดเชื้อ, Thai J. Sci. Technol. 7(2): 158-168.

สุภลัคน์ สุขสม, 2542, ศึกษาเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตและการแตกหน่อของกล้วยไข่ 2x และกล้วยไข่ 4x โดยการใช้รังสีแกมมา, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อรดี สหวัชรินทร์, กวิศร์ วานิชกุล และสุรพงษ์ โกสิยจินดา, 2536, การพัฒนาพันธุ์และการผลิตกล้วยกลุ่มกล้วยไข่โดยเทคโนโลยีชีวภาพ, รายงานวิจัย, ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Abdulhafiz, F., Kayat, F. and Zakaria, S., 2018, Effect of gamma irradiation on the morphological and physiological variation from in vitro individual shoot of banana cv. Tanduk (Musa spp.), J. Plant Biotechnol. 45: 140-145.

Doyle, J.J. and Doyle, J.L., 1987, A rapid DNA isolation procedure for small quantities of fresh leaf tissue, Phytochem. Bull. 19: 11-15.

Jo, Y.D., Kim, S.H., Hwang, J.E., Kim, Y., Kang, H.S., Kim, S., Kwon, S.J., Ryu, J., Kim, J. and Kang, S., 2016, Construction of mutation populations by gamma-ray and carbon beam irradiation in Chili pepper (Capsicum annuum L.). Horti. Environ, Biotechnol. 5: 606-614.

Lamseejan, S., Jompuk, P., Wongpiyasatid, A., Deeseepan, S. and Kwanthamachart, P., 2000, Gamma rays induced morphological changes in Chrysanthemum morifolium, Kasetsart J. (Nat. Sci.) 34: 417-422.

Lee, Y.I., Lee, I.S. and Lim, Y.P., 2002, Variations in sweet potato regenerates from gamma ray irradiated embryonic callus, J. Plant Biotech. 4: 163-170.

Nualchavee, R., Jompuk, P., Rattanawong wiboon, T. and Puingam, R., 2012, Radiosensitivity of Vetiver to acute and chronic gamma irradiation, Kasetsart J. (Nat. Sci.). 46: 383-393.

Rohlf, F.J., 2002, NTSYSpc Numerical Taxonomy and Multivariate Analysis System, Applied Biostatistics, Inc., New York.

Sales, E.K., Lopez, J., Espino, R.R.C., Butardo, N.G. and Gonzalez Diaz, L., 2013, Improvement of bananas through gamma ray irradiation, Philipp. J. Crop. Sci. 38: 47-53.

Sambrook, J., Fritsch, E.F. and Maniatis, T., 1989, Molecular Cloning: A Laboratory Manual, 2nd Ed., Cold Spring Harbor Laboratory Press, New York.

Taychasinpitak, T., Kikuchi, S., Jala, A., Thanananta, T. and Chanchula, N., 2016, Mutation breeding of Thai native Torenia (Torenia fournieri Lind.) by gamma-ray irradiation, Thai J. Sci. Technol. 5(2): 190-199.

Vos, P., Hogers, R., Bleeker, M., Reijans, M., van de Lee, T., Hornes, M., Frijters, A., Pot, J., Peleman, J., Kuiper, M. and Zebeau, M., 1995, AFLP: A new technique for DNA fingerprinting, Nucl. Acids Res. 23: 4407-4414.