การพัฒนาชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์มาชนิดเม็ดเพื่อการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ

Main Article Content

ประภาษ กาวิชา
วนารัตน์ นาติโน
วิไลวรรณ พัฒนาสันต์
อภิเดช แสงดี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์มาชนิดเม็ด เพื่อยืดอายุการเก็บของราไตรโคเดอร์มาและใช้ควบคุมรา Fusarium oxysoprum f.sp. lycopersici (Fol) วางแผนการทดลองแบบ factorial in CRD มี 3 ปัจจัย ได้แก่ สูตรห่อหุ้ม อุณหภูมิในการเก็บ และระยะเวลาเก็บ แต่ละสูตรมีโคนิเดียของรา Trichoderma sp. และ sodium alginate เท่ากัน แต่มีความเข้มข้นของ glycerol และแป้งมันสำปะหลังต่างกัน เก็บชีวภัณฑ์ที่อุณหภูมิห้อง และ 4 ºC เก็บรักษา 1-9 เดือน ผลการศึกษาพบว่ารา Trichoderma sp. ในชีวภัณฑ์แต่ละสูตรมีชีวิตรอดและระยะเวลาเก็บต่างกัน การเก็บที่ 4 ºC ทำให้รามีชีวิตรอดสูงกว่าการเก็บที่อุณหภูมิห้อง ชีวภัณฑ์สูตร F1 (sodium alginate 0.88 % + glycerol 1.5 %) เหมาะสมต่อการเก็บที่อุณหภูมิห้อง มีจำนวนโคนิเดียที่มีชีวิตสูงที่สุดและคงที่นาน 5 เดือน ส่วนการเก็บที่ 4 ºC พบว่าสูตร F3 (sodium alginate 0.88 % + tapioca starch 1.5 %), F4 (sodium alginate 0.88% + glycerol 1.5 % + tapioca starch 1.5 %), F5 (sodium alginate 0.88 % + glycerol 1.5 % + tapioca starch 3.7 %) และ F6 (sodium alginate 0.88 %) มีจำนวนโคนิเดียที่มีชีวิตสูงที่สุดและคงที่นาน 9 เดือน ราที่มีชีวิตรอดในชีวภัณฑ์แต่ละสูตรยังคงความสามารถในการควบคุมการเจริญของรา Fol

Article Details

How to Cite
กาวิชา ป., นาติโน ว., พัฒนาสันต์ ว., & แสงดี อ. (2021). การพัฒนาชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์มาชนิดเม็ดเพื่อการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ. Thai Journal of Science and Technology, 9(6), 832–843. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.85
บท
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

ประภาษ กาวิชา

หน่วยวิจัยศัตรูพืชและการควบคุมโดยชีววิธี คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000

วนารัตน์ นาติโน

หน่วยวิจัยศัตรูพืชและการควบคุมโดยชีววิธี คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000

วิไลวรรณ พัฒนาสันต์

หน่วยวิจัยศัตรูพืชและการควบคุมโดยชีววิธี คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000

อภิเดช แสงดี

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

References

Adan, J., Baque, A., Rahman, M., Islam, R. and Jahan, A., 2015, Formulation of Trichoderma based biopesticide for controlling damping off pathogen of eggplant seedling, Univ. J. Agric. Res. 3: 106-113.
Benitez, T., Rincon, A.M., Limon, M.C. and Codon, A.C., 2004, Biocontrol mechanisms of Trichoderma strains, Int. J. Microbiol. 7: 249-260.
Charoenrak, P. and Chamswarng, C., 2016, Efficacies of wettable pellet and fresh culture of Trichoderma asperellum biocontrol products in growth promoting and reducing dirty panicles of rice, Agric. Nat. Resour. 50: 243-249.
Czene, K., Lichtenstein, P. and Hemminki, K., 2002, Environmental and heritable causes of cancer among 9.6 million individuals in the Swedish family-cancer database, Int. J. Cancer 99: 260-266.
Ha, T.N., 2010, Using Trichoderma species for biological control of plant pathogens in Vietnam, J. ISSAAS 16: 17-21.
Jurić, S., Đermić, E., Topolovec-Pintarić, S., Bedek, M. and Vinceković, M., 2019, Physicochemical properties and release characteristics of calcium alginate microspheres loaded with Trichoderma viride spores, J. Integr. Agric. 18: 2534-2548.
Küçük, Ç. and Kıvanç, M., 2005, Effect of formulation on the viability of biocontrol agent, Trıchoderma harzıanum conidia, Afr. J. Biotechnol. 4: 483-486.
Locatelli, G.O., Santos, G.F., Priscila, S. Botelho, P.S., Finkler, C.L.L. and Bueno, L.A., 2018, Development of Trichoderma sp. Formula tions in encapsulated granules (CG) and evaluation of conidia shelf-life, Biol. Control 117: 21-29.
Manandhar, S., Pant, B., Manandhar, C. and Baidya, S., 2019, In vitro evaluation of bio-control agents against soil borne plant pathogens, J. Nepal Agric. Res. Counc. 5: 68-72.
Mishra, P.K. and Khan, F.N., 2015, Effect of different growth media and physical factors on biomass production of Trichoderma viride, People’s J. Sci. Res. 8: 11-16.
Munoz-Celayaa, A.L., Ortiz-García, M., Vernon-Carter, E.J., Jauregui-Rincón, J., Galindo, E. and Serrano-Carreón, L., 2012, Spray-drying microencapsulation of Trichoderma harzianum conidias in carbohydrate polymers matrices, Carbohydr. Polym. 88: 1141-1148.
Navaneetha, T., Prasad, R.D. and Venkateswar, R.L., 2015, Liquid formulation of Trichoderma species for management of gray mold in castor (Ricinus communis L.) and alternariaster leaf blight in sunflower (Helianthus annuus L.), J. Biofertil. Biopestici. 2015: 6.
Sharpe, R.M. and Irvine, D.S., 2004, How strong is the evidence of a link between environmental chemicals and adverse effects on human reproductive health, BMJ 328: 447-451.
Singh, V., Upadhyay, R.S., Sarma, B.K. and Singh, H.B., 2016, Trichoderma asperellum spore dose depended modulation of plant growth in vegetable crops, Microbiol. Res. 193: 74-86.
Skidmore, A.M. and Dickinson, C.H., 1976, Colony interactions and hyphal interference between Septoria nodurum and phylloplane fungi, T. Brit. Mycol. Soc. 66: 57-64.
Sousa, K.A., Junior, G.S.F., Lima, K.T.L., Pinto, G.A.S., Aguiar, R.S.S. and Azevedo, D.C.S., 2014, Evaluation of the use of raw glycerol in biomass production by Trichoderma reesei QM9414, BMC Proc. 8(Suppl 4): P173.