ชนิด การกระจาย ความชุกชุมของหอย และปัจจัยสิ่งแวดล้อม บริเวณป่าชายเลนปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร

Main Article Content

ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน

Abstract

Abstract


Species composition, distribution and abundance of mollusc and environmental factors in the Tha Chin mangrove estuary, Samut Sakhon province were investigated. The four transects along the western coastline of the estuary comprised of landward fringe of the mangrove forest, central part of the mangrove forest, seaward fringe of the mangrove forest and tidal mudflat outside the mangrove forest. A total of 16 species/taxa in 9 families of mollusc were found from this area. The gastropod, Assiminea brevicula was found the dominant species that it was the most abundant and widely distributed in the mangrove while bivalve, Tellina (Moerella) sp. was dominated in the mudflat. The distribution of molluscs was categorized into 3 major groups based on their habitats in the mangrove forest: (1) those in the tidal mudflat outside the forest; (2) those in the seaward fringe of the forest and (3) those both in the central part and landward fringe of the forest. Substrate characteristics of grain sizes and organic contents, biomass of pneumatophores and leaf litter of mangrove vegetation were the main factors affecting the distribution and abundance of molluscs. 


Keywords: mollusk; gastropod; bivalve; Tha Chin Mangrove estuary; Samut Sakhon province

Article Details

Section
Biological Sciences
Author Biography

ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000

References

[1] ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์, มอริตากา นิชิฮิรา, อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์, สนิท อักษรแก้ว, สนใจ หะวานนท์ และวัฒนา พรประเสริฐ, 2540, ผลของการปลูกและฟื้นฟูป่าชายเลนที่มีต่อทรัพยากรประมง : กรณีศึกษาป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม, น. IV-2: 1-15, ใน การสัมมนาระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน ครั้งที่ 10, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.
[2] ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์, วันวิวาห์ วิชิตวรคุณ, นิพัทธ์ ส้มกลีบ, อัฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์, อิชฌิกา ศิวายพราหมณ์, อาจอง ประทัตสุนทรสาร และอมรศักดิ์ ทองภู่, 2545, บทที่ 8 การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลนปลูกทดแทน, น. 151-181, ใน รายงานผลการวิจัยผลการปลูกและฟื้นฟูป่าชายเลนจังหวัดสมุทรสงครามต่อโครงสร้างประชากรแพลงก์ตอนสัตว์และสัตว์ทะเลหน้าดิน, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.
[3] ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์, อิชฌิกา ศิวายพราหมณ์, กรอร วงษ์กำแหง, พรเทพ พรรณรักษ์ และบัญชา สบายตัว, 2550, การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลนปลูกบนพื้นที่นากุ้งร้างอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, น. 276-287, ใน ประมวลผลงานวิจัยการประชุมวิชาการระบบนิเวศป่าชายเลนแห่งชาติ “ป่าชายเลนรากฐานเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนชายฝั่ง”, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ.
[4] ชีวารัตน์ พรินทรากูล, 2554, มอลลัสก์ในระบบนิเวศป่าชายเลนบริเวณ อ่าวไทย : ความหลากหลายและการปรับตัว, ว.วิทยาศาสตร์บูรพา 16(2): 114-124.
[5] ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน, ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์, ธัญญารัตน์ ตาธุวัน, ณัฐจีรา ง้าวงาม และฐิตาภัทร ธรรมพร, 2554, การใช้หอยสีแดง Ovassiminea brevicula เป็นดัชนีการฟื้นตัวของป่าชายเลนปลูกทดแทน บริเวณป่าชายเลนปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร, น. 199-212, ใน ประมวลผลงานวิจัยการสัมมนาป่าชายเลนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 ชุมชนเข้มแข็ง ป้องกันภัยพิบัติ ขจัดโลกร้อน, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ.
[6] Suzuki, T., Nishihira, M. and Paphavasit, N., 2002, Size structure and distribution of Ovassiminea brevicula (Gastropoda) in a Thai mangrove swamp, Wetl. Ecol. Manag. 10: 265-271.
[7] สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน, 2555, พื้นที่ป่าชายเลนจังหวัดสมุทรสาคร, สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ, 38 น.
[8] จำลอง โตอ่อน, 2542, สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่ และการกระจายตัวของปูก้ามดาบในป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 211 น.
[9] Tantanasiriwong, R., 1978. An illustrated checklist of marine shelled gastropods from Phuket Island, adjacent mainland and offshore island, Western Peninsular Thailand, Phuket Mar. Biol. Cent. Res. Bull. 21: 1-65.
[10] Swennen, C., Moolenbeek, R.G., Ruttanadakul, N., Hobbelink, H., Dekker, H. and Hajisamae, S., 2001, The Molluscs of the Southern Gulf of Thailand. Thai Studies in Biodiversity No.4. Bangkok, Thailand, 210 p.
[11] Buchanan, J.B., 1984. Sediment analysis, pp. 41-65, In Holme, N.A. and McIntyre, A.D. (Eds.), Methods for the Study of Marine Benthos, Blackwell Scientific Publications, California.
[12] Nelson, D.W., Sommers, L.E., 1982, Total Carbon, Organic Carbon and Organic Matter, pp. 539-579, In Page, A.L. (Ed), Methods of Soil Analysis Part 2 Agronomy Monographs 9, ASA and SSSA, Madison.
[13] Clarke, K.R., and Warwick, R.M., 1994, Change in Marine Communities: An Approach to Statistical Analysis and Interpretation, Plymouth, Plymouth Marine Laboratory, United Kingdom, Primer-E Ltd., 144 p.
[14] Ludwig, A.J. and Reynolds, J.F., 1986, Statistical Ecology: A Primer on Methods and Computing, John Wiley and Sons, Inc., New York, 337 p.
[15] วันวิวาห์ วิชิตวรคุณ, 2544, สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 171 น.
[16] Printrakoon, C., Wells, F.E. and Chitramwong, Y., 2008. Distribution of molluscs in mangroves at six sites in the upper Gulf of Thailand, Raffles Bull. Zoo. 18: 247-257.
[17] Frith, D.W., Tantanasiriwong, R. and Bhatia, O., 1976, Zonation of macrofauna on amangrove shore, Phuket Island, Phuket Mar Biol. Center Res Bull. 10: 1-37.
[18] Suzuki, T., Nishihira, M., Paphavasit, N., Shikamo, S., Nakasone, Y., Piumsomboon, A. and Aumnuch, E., 1997. Ecological Distribution and Community Structure of Benthic Animals in Samut Songkhram Mangrove Swamp, Thailand, pp. 41-77, In Nishihira, M. (Ed.), Benthic Communities and Biodiversity in Thai Mangrove Swamp.
[19] วราริน วงษ์พานิช, 2551, การศึกษาสัตว์พื้นทะเลบริเวณป่าชายเลนอ่าวภูเก็ต, เอกสารวิชาการฉบับที่ 2/2551, สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, กรุงเทพฯ, 32 น.
[20] ไพรินทร์ เพ็ญประไพ, วัลภา ทองดียิ่ง, ณรงค์ฤทธิ์ เลิศเกษตรวิทยา, ศักดา อิงเอนุ และสามารถ นิคมจิตร, 2554, ความหลากหลายชนิดของหอยในป่าชายเลนพื้นที่อ่าวไทยตอนบน, น. 213-224, ใน ประมวลผลงานวิจัยการสัมมนาป่าชายเลนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 ชุมชนเข้มแข็ง ป้องกันภัยพิบัติ ขจัดโลกร้อน, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ.
[21] สุชาติ สว่างอารีย์รักษ์, พัชราภรณ์ เยาวสุต, ณรงค์ฤทธิ์ เลิศเกษตรวิทยา, วัลภา ทองดียิ่ง, นงนุช ศิลปะสาร และวุฒิพงษ์ วงศ์อินทร์, 2552. สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่พื้นที่หาดเลนปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร, ว.วิจัยเทคโนโลยีการประมง 3(1): 173-186.
[22] Kohlmeyer, J. and Bebout, B., 1986, On the occurrence of marine fungi in the diet of Littorina angulifera and observations on the behavior of the periwinkle, Mar. Ecol. 7: 333-343.
[23] Lee, O.H.K., Williams, G.A. and Hyde, K.D., 2001, The diets of Littoraria ardouiniana and L. melanostoma in Hong Kong mangroves, J. Mar. Biol. Assoc. UK. 81: 967-973.