ผลการให้กระเจี๊ยบแดงในน้ำดื่มต่อการสมรรถภาพการผลิต ค่าโลหิตวิทยา และไขมันในเลือดของไก่เนื้อในสภาพการเลี้ยงหนาแน่น

Main Article Content

นภัสวรรณ พลอยระย้า
นิภารัตน์ ศรีธเรศ
ยุวเรศ มลิลา
ชัยภูมิ บัญชาศักดิ์
สุวรรณา โควะวินทวีวัฒน์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโต ค่าโลหิตวิทยา และระดับไขมันในเลือดของไก่เนื้อในสภาพการเลี้ยงที่หนาแน่นด้วยการให้กระเจี๊ยบแดงในน้ำดื่ม โดยใช้ลูกไก่เนื้อสายพันธุ์ Cobb 500 เพศผู้ อายุ 1 วัน จำนวน 128 ตัว แบ่งออกโดยสุ่มเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ โดยวางแผนการทดลองแบบ 2 x 2 factorial in completely randomized design โดยมี 2 ปัจจัย ปัจจัยที่ 1 คือ การเลี้ยงไก่ในคอกที่มีความหนาแน่น 6 ตัวต่อตารางเมตร เทียบกับ 10 ตัวต่อตารางเมตร และปัจจัยที่ 2 คือ ระดับของการเสริมกระเจี๊ยบแดงที่ผสมในน้ำ แบ่งเป็น 0 และ 4 กรัม/น้ำ 1 ลิตร ไก่ทดลองทุกกลุ่มได้รับอาหารสำเร็จรูปทางการค้า ชนิดเม็ดเหมือนกันตลอดระยะเวลาทดลอง 35 วัน ผลปรากฏว่าน้ำตัวเมื่อสิ้นสุดการทดลอง น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) แต่ปริมาณที่กินได้ อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็น ค่าโลหิตวิทยา และไขมันในเลือด แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) จากผลการทดลองจึงสรุปได้ว่าการให้น้ำกระเจี๊ยบแดงในไก่เนื้อทำให้ช่วยปรับปรุงสมรรถภาพการผลิตได้ 


คำสำคัญ : สมรรถภาพการผลิต; โลหิตวิทยา; ไขมันในเลือด; สภาพการเลี้ยงหนาแน่น

Article Details

บท
Biological Sciences
Author Biographies

นภัสวรรณ พลอยระย้า

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

นิภารัตน์ ศรีธเรศ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ยุวเรศ มลิลา

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ชัยภูมิ บัญชาศักดิ์

ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

สุวรรณา โควะวินทวีวัฒน์

ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

[1] Tayeb, I.T., Hassan, S.N., Mustafa, M.M., and Sadeq, S.A.M., 2011, Effects of various stocking density on productive performance and some physiological traits of broiler chick, Res. Opin. Anim. Vet. Sci. 1: 89-93.
[2] Sohail, S.S., Bryant, M.M. and Roland, D.A., 2004, Effect of reducing cage density on performance and economics of second-cycle (ForceRested) commercial Leghorns, J. Appl. Poult. Res. 13: 401-405.
[3] Manoli, L.P., Henricks, G.L. and Kalama, M.A., 2004, Effect of chronic variate species and on total radical trapping potential in distinct regions of rat brain, Neurochem. Res. 25: 915-921.
[4] Frankel, A.I., 1970, Symposium: Recent Advances in Avian Endocrinology, Poult. Sci. 49: 869-892.
[5] Tankson, J.D., Vizzier-Thaxton, Y., Thaxton, J.P., May, J.D. and Cameron, J.A., 2001, Stress and nutritional quality of broilers, Poult. Sci. 80: 1384-1389.
[6] Richard, J.J., 1998, Physiological manage ment and environmental triggers of the ascites syndrome, Poult. Int. Asia Pacific Edition 37: 28-33.
[7] Harmon, B.G., 1998, Avian heterophils in inflammation and disease resistance, Poult. Sci. 77: 972-977.
[8] Jain, N.C., 1993, Essential of Veterinary Hematology, Lea & Febiger, Philadelphia, 417 p.
[9] Gross, W.B. and Seigel H.S., 1983, Evaluation of the heterophil/lymphocyte ratio as a measure of stress in chicken, Avian Dis. 27: 972-979.
[10] Farhadi, D. and Hosseini S.M., 2016, Evaluation of growth performance, carcass characteristics, litter quality and foot lesions of broilers reared under high stocking densities, Iran J. Appl. Anim. Sci. 6:187-194.
[11] Barton, M.D., 2000, Antibiotic use in animal feed and its impact on human health, Nutr. Res. Rev. 13: 279-299.
[12] Chopra, I. and Roberts, M., 2001, Tetracycline antibiotics: Mode of action, applications, molecular biology and epidemiology of bacterial resistance, Microbiol. Mol. Biol. Rev. 65: 260-323.
[13] ทัศนีย์ อภิชาติสรางกูร, 2540, สุขศาสตร์สัตว์, สารพัดพิมพ์, เชียงใหม่, 297 น.
[14] Cogliani, C., Goossens, H. And Greko, C., 2011, Restricting antimicrobial use in food animals: Lessons from Europe, Microbe 6: 274-279.
[15] Liu, G.M., Wei, Y., Wang, Z.S., Wu, D., Zhou, A.G., and Liu, G.L., 2008, Effects of herbal extract supplementation on growth performance and insulin-like growth factor (IGF)-I system in finishing pigs, J. Anim. Feed Sci. 17: 538-547.
[16] รังสรรค์ แตงโสภา, วีระวุฒิ พรมดี, สาธิต บุญอาจ, มานะ สุภาดี, วิศิษย์ เกตุปัญญาพงศ์ และกุลิสรา มรุปัณฑ์ธร, 2554, ผลของสมุนไพรเบญจกูลและขิงต่อค่าทางโลหิตวิทยาและจํานวนจุลินทรีย์ในไก่เนื้อ, แก่นเกษตร 39(ฉบับพิเศษ): 251-255.
[17] Mohamed, B.B., Sulaiman, A.A. and Dahab, A.A., 2012, Roselle (Hibiscus sabdariffa L.) in Sudan, cultivation and their uses, Bull. Environ. Pharmacol. Life Sci. 1: 48-54.
[18] โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กระเจี๊ยบแดง, แหล่งที่มา : http://www.vchar karn.com/varticle/39615, 15 มีนาคม 2559.
[19] Da-Costa-Rocha, I., Bonnlaender, B., Sievers, H., Pischel, I. and Heinrich, M., 2014, Hibiscus sabdariffa L. – A phytochemical and pharmacological review, Food chem. 165: 424-443.
[20] Awodola, P.O., Ajibiye A.A. and Longe O.G., 2015, Effect of graded livels of Roselle (Hibiscus sabdariffa Linn.) calyx extract on performance and carcass characteristic of broiler chickens, Int. J. Poult. Sci. 14: 343-347.
[21] วิศิษย์ เกตุปัญญาพงศ์, อับดุลรอฮิม เปาะอีแต และฮานีย๊ะ เปาะเย๊าะ, 2551, การเจริญเติบโตและคุณภาพซากของนกกระทาญี่ป่นที่กินอาหารเสริมกากกระเจี๊ยบแดง, ว.มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 3(2): 97-105.
[22] นาม ศิริเสถียร, 2531, เมล็ดกระเจี๊ยบแดงหมูกินได้ไหม (การใช้เมล็ดกระเจี๊ยบแดงเป็นอาหารสุกรรุ่น-ขุน), ว.สุกรสาส์น 15(58): 5-16.
[23] Kahkonen, M.P., Heinonen, M., 2003, Antioxidant activity of anthocyanins and their aglycons, J. Agric. Food Chem. 51: 628-633.
[24] Miguel, M.G., 2011, Anthocyanins: Antioxidant and/or anti-inflammatory activities, J. Appl. Pharm. Sci. 1(6): 7-15.
[25] Marinho, M.C., Lordelo, M.M., Cunha, L.F. and Freire, J.P.B., 2007, Microbial activity in the gut of piglets: Effect of prebiotic and probiotic supplementation, Livest. Sci. 108: 236-239.
[26] Hansen, C.F., Riis, A.L., Bresson S., Hojbjerg, O. and Jensen, B.B., 2007, Feeding organic acids enhances the barrier function against pathogenic bacteria of the piglet stomach, Livest. Sci. 108: 206-209.
[27] Ogunwole, O.A., Abu, O.A. and Adepoju, I.A., 2011, Performance and carcass characteristics of broiler finishers fed acidifier based diets, Pak. J. Nutr. 10: 631-636.