การประเมินประสิทธิภาพและการวางแผนการควบคุมคุณภาพของเครื่องตรวจวิเคราะห์นับเซลล์เม็ดเลือดโดยใช้ Sigma Metric ในห้องปฏิบัติการหน่วยโลหิตวิทยา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
การประเมินประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์ ตลอดจนการควบคุมคุณภาพ เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ผลการตรวจวิเคราะห์มีความน่าเชื่อถือ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำ sigma metric มาประเมินประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์และวางแผนการควบคุมคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยาในงานประจำวัน ณ ห้องปฏิบัติ การโลหิตวิทยา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี ซึ่ง sigma metric นั้นเป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลกว่าเหมาะสมที่จะนำมาใช้ประเมินประสิทธิภาพของแต่ละรายการทดสอบทางโลหิตวิทยาและนำมาใช้ในการวางแผนเพื่อเลือกกฎที่ใช้สำหรับการควบคุมคุณภาพของแต่ละรายการทดสอบ โดยเริ่มเก็บข้อมูลเครื่องตรวจวิเคราะห์นับเม็ดเลือดอัตโนมัติ Coulter รุ่น LH 785 และ Coulter รุ่น DxH 800 ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 ผลการศึกษาพบว่า white blood cell (WBC), red blood cell (RBC), hemoglobin (HGB), mean corpuscular volume (MCV), platelet (PLT), neutrophil (Neu), lymphocyte (Lym), monocyte (Mon) และ eosinophil (Eos) มีค่าเฉลี่ยของ Sigma มากกว่า 5 แสดงให้เห็นว่าเครื่องตรวจวิเคราะห์นับเม็ดเลือดอัตโนมัติ Coulter รุ่น LH 785 และ Coulter รุ่น DxH 800 ณ ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี มี Performance ที่ดีเยี่ยม สามารถเลือกใช้กฎ single rules 13s, N=3 (Pfr=0.01) มีสมบัติตาม quality specification ที่กำหนดคือสามารถตรวจจับความผิดพลาด (error detection) มากกว่าหรือเท่ากับ 90 % และตรวจจับความผิดพลาดที่เป็นผลบวกลวง (false rejection) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 % ในการควบคุมคุณภาพของแต่ละรายการทดสอบในแต่ละเดือนได้ ซึ่งเป็นกฎที่มีความเหมาะสมและมีความยืดหยุ่นสูงในการควบคุมคุณภาพได้ครอบคลุมทุกการพารามิเตอร์ของทดสอบ โดยสามารถทำการควบคุมคุณภาพเพียง 1 รอบ/วัน ทำให้ลดภาระงานและค่าใช้จ่ายในการทดสอบสอบสารควบคุมคุณภาพ ส่งผลให้ห้องปฏิบัติการจัดอยู่ในระดับ world class quality และ improving business process performance
คำสำคัญ : การควบคุมคุณภาพ; ซิกมาเมทริกซ์; โลหิตวิทยา
Abstract
The assessment of analytical efficiency and quality control (QC) are important for reliability of laboratory results. This study aims to use sigma metric for assessment and QC planning tools (out of control) in QC of hematological analysis in hematology department at Thammasat University hospital. sigma metric is an acceptable tool that usually uses to evaluate the efficiency and plan for chooses the optimum rules in QC of hematology testing. The data were collected from both of Coulter LH 750 and DxH 800 analyzer during the year 2014. The results showed that the average of sigma value of white blood cell (WBC), red blood cell (RBC), hemoglobin (HGB), mean corpuscular volume (MCV), platelet (PLT), neutrophil (Neu), lymphocyte (Lym), monocyte (Mon) and eosinophil (Eos) were more than 5 from Coulter LH 750 and DxH 800 respectively. It indicated that both of automation analyzer had an excellent performance. Therefore, we select single rules 13s, N=3 (Pfr=0.01) for QC planning because it has quality specification which can show error detection more than 90 % and false rejection less than 5 %. This rule is an appropriate and flexibility in quality control covers all the parameters of the complete blood count in hematology unit each month. The advantage with this QC was that can be determined once in a day resulting in decrease workload and safe cost. Therefore, using this QC will leads our laboratory to world class quality and improves business process performance.
Keywords: hematology; quality control; sigma metric
การประเมินประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์ ตลอดจนการควบคุมคุณภาพ เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ผลการตรวจวิเคราะห์มีความน่าเชื่อถือ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำ sigma metric มาประเมินประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์และวางแผนการควบคุมคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยาในงานประจำวัน ณ ห้องปฏิบัติ การโลหิตวิทยา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี ซึ่ง sigma metric นั้นเป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลกว่าเหมาะสมที่จะนำมาใช้ประเมินประสิทธิภาพของแต่ละรายการทดสอบทางโลหิตวิทยาและนำมาใช้ในการวางแผนเพื่อเลือกกฎที่ใช้สำหรับการควบคุมคุณภาพของแต่ละรายการทดสอบ โดยเริ่มเก็บข้อมูลเครื่องตรวจวิเคราะห์นับเม็ดเลือดอัตโนมัติ Coulter รุ่น LH 785 และ Coulter รุ่น DxH 800 ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 ผลการศึกษาพบว่า white blood cell (WBC), red blood cell (RBC), hemoglobin (HGB), mean corpuscular volume (MCV), platelet (PLT), neutrophil (Neu), lymphocyte (Lym), monocyte (Mon) และ eosinophil (Eos) มีค่าเฉลี่ยของ Sigma มากกว่า 5 แสดงให้เห็นว่าเครื่องตรวจวิเคราะห์นับเม็ดเลือดอัตโนมัติ Coulter รุ่น LH 785 และ Coulter รุ่น DxH 800 ณ ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี มี Performance ที่ดีเยี่ยม สามารถเลือกใช้กฎ single rules 13s, N=3 (Pfr=0.01) มีสมบัติตาม quality specification ที่กำหนดคือสามารถตรวจจับความผิดพลาด (error detection) มากกว่าหรือเท่ากับ 90 % และตรวจจับความผิดพลาดที่เป็นผลบวกลวง (false rejection) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 % ในการควบคุมคุณภาพของแต่ละรายการทดสอบในแต่ละเดือนได้ ซึ่งเป็นกฎที่มีความเหมาะสมและมีความยืดหยุ่นสูงในการควบคุมคุณภาพได้ครอบคลุมทุกการพารามิเตอร์ของทดสอบ โดยสามารถทำการควบคุมคุณภาพเพียง 1 รอบ/วัน ทำให้ลดภาระงานและค่าใช้จ่ายในการทดสอบสอบสารควบคุมคุณภาพ ส่งผลให้ห้องปฏิบัติการจัดอยู่ในระดับ world class quality และ improving business process performance
คำสำคัญ : การควบคุมคุณภาพ; ซิกมาเมทริกซ์; โลหิตวิทยา
Abstract
The assessment of analytical efficiency and quality control (QC) are important for reliability of laboratory results. This study aims to use sigma metric for assessment and QC planning tools (out of control) in QC of hematological analysis in hematology department at Thammasat University hospital. sigma metric is an acceptable tool that usually uses to evaluate the efficiency and plan for chooses the optimum rules in QC of hematology testing. The data were collected from both of Coulter LH 750 and DxH 800 analyzer during the year 2014. The results showed that the average of sigma value of white blood cell (WBC), red blood cell (RBC), hemoglobin (HGB), mean corpuscular volume (MCV), platelet (PLT), neutrophil (Neu), lymphocyte (Lym), monocyte (Mon) and eosinophil (Eos) were more than 5 from Coulter LH 750 and DxH 800 respectively. It indicated that both of automation analyzer had an excellent performance. Therefore, we select single rules 13s, N=3 (Pfr=0.01) for QC planning because it has quality specification which can show error detection more than 90 % and false rejection less than 5 %. This rule is an appropriate and flexibility in quality control covers all the parameters of the complete blood count in hematology unit each month. The advantage with this QC was that can be determined once in a day resulting in decrease workload and safe cost. Therefore, using this QC will leads our laboratory to world class quality and improves business process performance.
Keywords: hematology; quality control; sigma metric
Article Details
Section
Medical Sciences