ผลของสภาวะการเก็บรักษาต่อการเกิดรีโทรเกรเดชันและการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวจากข้าวและถั่วเหลืองโดยกระบวนการเอกซ์ทรูชัน

Main Article Content

นิพัฒน์ ลิ้มสงวน
วราภรณ์ ประเสริฐ
จุฬาลักษณ์ จารุนุช
พิสุทธิ์ บุตรสุวรรณ
พิศมัย ศรีชาเยช

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


ศึกษาผลของสภาวะการเก็บรักษาต่อการเกิดรีโทรเกรเดชันและสมบัติทางกายภาพ (สีและลักษณะเนื้อสัมผัส) และเคมี (ปริมาณแอมิโลส แอมิโลเพคติน และแป้งรีซิสแตนท์) ที่เปลี่ยนแปลงไปในผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวจากข้าวและถั่วเหลือง โดยเริ่มต้นศึกษาผลของสภาวะการเก็บ 2 ปัจจัย ได้แก่ อุณหภูมิ (-18, 4, 28 และ 50 °C) และระยะเวลาในการเก็บรักษา (0-6 เดือน) พบว่าสภาวะการเก็บที่อุณหภูมิสูง (28 และ 50 °C) ส่งผลให้โมเลกุลของแป้งในผลิตภัณฑ์เกิดรีโทรเกรเดชันได้เร็วกว่าการเก็บที่อุณหภูมิต่ำ และระยะเวลานานขึ้นส่งผลให้ช่วงอุณหภูมิของการเกิดเอนโดเทอมรีโทรเกรเดชันมีแนวโน้มสูงขึ้นและยังพบการเกิดสารประกอบเชิงซ้องของแอมิโลสและลิปิดด้วย และเมื่อศึกษาสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่าปัจจัยหลัก คือ ระยะเวลาในการเก็บรักษาและอิทธิพลร่วมระหว่างระยะเวลาและอุณหภูมิ (p < 0.05) ในขณะที่อุณหภูมิในการเก็บรักษาส่งผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในบางสมบัติ โดยระยะเวลามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าสี L* และ b* ค่าความกรอบ ปริมาณแอมิโลส และแอมิโลเพคติน และปริมาณแป้งรีซิสแตนท์มากกว่าอุณหภูมิ ส่วนค่าสี a* และค่าความแข็งกระด้างขึ้นอยู่กับอุณหภูมิมากกว่าระยะเวลา ทั้งนี้อุณหภูมิในการเก็บไม่มีผลต่อค่าความกรอบและปริมาณแป้งรีซิสแตนท์


คำสำคัญ : สภาวะการเก็บรักษา; การเกิดรีโทรเกรเดชัน; สมบัติทางกายภาพและเคมี; สมบัติเชิงสุขภาพ; ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวจากกระบวนการเอกซ์ทรูชัน

Article Details

บท
Biological Sciences
Author Biographies

นิพัฒน์ ลิ้มสงวน

ฝ่ายกระบวนการผลิตและแปรรูป สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

วราภรณ์ ประเสริฐ

ฝ่ายกระบวนการผลิตและแปรรูป สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

จุฬาลักษณ์ จารุนุช

ฝ่ายกระบวนการผลิตและแปรรูป สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

พิสุทธิ์ บุตรสุวรรณ

ฝ่ายกระบวนการผลิตและแปรรูป สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

พิศมัย ศรีชาเยช

ฝ่ายกระบวนการผลิตและแปรรูป สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

References

[1] Yrjo, R., 1995, Phase Transition in Foods, London Academic Press, London, 380 p.
[2] Gudmundsson, M., 1994, Retrogradation of starch and the role of its components, Thermoclimica Acta 246: 329-341.
[3] Eerlingen, R.C., Crombez, M. and Delcour, J.A., 1993, Enzyme resistance starch: I. Quantitation and qualitative influence of incubation time and temperature of autoclaved starch on resistant starch formation, Cereal Chem. 70: 339-344.
[4] ศันสนีย์ อุดมระติ, 2548, การเกิดเจลาทิเนเซชันและรีโทรเกรเดชันของสตาร์ชข้าว 4 พันธุ์, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์, กรุงเทพฯ, 162 น.
[5] Eliasson, A.C. and Gudmundsson, M., 1996, Starch: Physicochemical and Function Aspects, pp.431-503. In Eliasson, A.C. (Ed.), Carbohydrate in Food. Marcel Dekker, Inc., New York.
[6] Chung, J.H., Jeong, H.Y. and Lim, S.T., 2003, Effect of acid hydrolysis and defatting on crystallinity and pasting properties of freeze-thawed high amylase corn starch, Carbohydr. Polym. 54: 449-455.
[7] Biliaderis, C.G., Tonogai, J.R. Perez, C.M. and Juliano, B.O., 1993, Thermophysical properties of milled rice starch as influenced by variety and parboiling method, Cereal Chem. 70: 512-516.
[8] Ong, M.H. and Blanshard J.M.V., 1995, Texture determinants of cooked, parboiled rice: II. Physicochemical properties and leaching behaviour of rice, J. Cereal Sci. 21: 261-269.
[9] Lii, Y.C., Lai, V.M.F. and Shen, M.C., 2004, Changes in retrogradation properties of rice starch with amylase content and molecular properties, Cereal Chem. 81: 392-398.
[10] Vamndeputte, E,G., Vermeylen, R.V., Geeroms, J. and Delcour, J.A., 2003, Rice starch: III. Structure aspects provide insight in amylopectin retrogradation property and gel texture, J. Cereal Sci. 38: 61-68.
[11] Jeremiah, L.E. and Gibson, L.L., 2001, The influence of storage temperature and storage time on color stability, retail properties and case life of retail ready beef, Food Res. Int. 34: 815-826.
[12] Sowbhagya, H.B., Smitha, S., Sampathu, S.R., Krishnamurthy, N. and Bhattacharya, S., 2005, Stability of water-soluble turmeric colorant in an extruded food product during storage, J. Food Eng. 67: 367-371.
[13] Yu, S., Ma, Y. and Sun, D.W., 2009, Impact of amylase content on starch retrogradation and texture of cooked milled rice during storage, J. Cereal Sci. 50: 139-144.
[14] Larsen, H., Lea, P. and Rodbotten, M., 2005, Sensory changes in extruded oat stored under different packaging, light and temperature conditions, Food Qual. Prefer. 16: 573-584.
[15] Hirte, A., Hamer, R.J., Meinders. And Primo-Martin, C., 2010, Permeability of crust is key to crispness retention, J. Cereal Sci. 52: 129-135.
[16] Launay, B. and Lisch, J.M., 1983, Twin screw extrusion cooking of starched: Behavior of starch pastes, expansion and mechanical properties of extrudates, J. Food Eng. 2: 259-280.
[17] Mercier, C. and Feillet, P., 1975, Modification of carbohydrate components by extrusion-cooking of cereal products, Cereal Chem. 52: 283-297.
[18] Copeland, L., Blazek, J., Salman, H. andTang, M.C., 2009, Form and functionality of starch, Food Hydrocoll. 23: 1527-1534.
[19] Kumari, M., Urooj, A. and Prasad, N.N., 2007, Effect of storage on resistant starch and amylase content of cereal-pulse based ready-to-eat commercial products, Food Chem. 102: 1425-1430.
[20] Mangala, S.L., Udayasankar, K. and Tharanathan, R.N., 1999, Resistant starch from processed cereals: the influence of amylopectin and non-carbohydrate constituents in its formation, Food Chem. 64: 391-396.
[21] Namratha, J., Asna, U. and Prasad, N.N., 2002, Effect of storage on resistant starch content of processed ready-to-eat foods, Food Chem. 79: 395-400.
[22] Niba, L.L., 2003, Effect of storage period and temperature on resistant starch and -glucan content in cornbread, Food Chem. 83: 493-498.
[23] Kingcam, R., Devahastin, S. and Chiewchan, N., 2008, Effect of starch retrogradation on texture of potato chips produced by low-pressure superheated steam drying, J. Food Eng. 89: 72-79.
[24] Yu, S., Ma, Y. and Sun, D.W., 2009, Impact of amylase content on starch retro-gradation and texture of cooked milled rice during storage, J. Cereal Sci. 50: 139-144.
[25] Iturriaga, L.B., Mishima, B.L. and Añon, M.C., 2010, A study of the retrogradation process in five argentine rice starches, LWT-Food Sci. Technol. 43: 670-674.
[26] Park, E.Y., Baik, B.K. and Lim, S.T., 2009, Influences of temperature-cycled storage on retrogradation and in vitro digestibility of waxy maize starch gel, J. Cereal Sci. 50: 43-48.