การศึกษาพฤติกรรมการอบแห้งและการประเมินค่าสีของพริกที่อบแห้งภายในตู้อบแห้งแบบหลายชั้นด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพ

Main Article Content

ศุษมา โชคเพิ่มพูน
สุริยา โชคเพิ่มพูน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


บทความวิจัยนี้เสนอการศึกษาพฤติกรรมการอบแห้งของพริก และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการประมวลผลภาพสำหรับวิเคราะห์และประเมินการเปลี่ยนแปลงสีของพริก ในระหว่างกระบวนการอบแห้งและความสม่ำเสมอของสีพริกแห้งภายในตู้อบแห้งแบบหลายชั้น โดยให้อากาศที่ผ่านชุดอุ่นอากาศภายใต้เงื่อนไขการให้ความร้อนแบบฟลักซ์ ความร้อนคงที่เท่ากับ 800 วัตต์ต่อตารางเมตร ซึ่งจ่ายจากพัดลมด้วยความเร็วในการไหลที่แตกต่างกัน ได้แก่ 2.0 และ 4.0 เมตรต่อวินาที นอกจากนี้ได้ศึกษาอิทธิพลของจำนวนการเปิดชุดหลอดไฟที่ 1, 2, 3 และ 4 ชุด ซึ่งใช้เป็นอุปกรณ์ให้ความร้อนเสริมและกระทบของตำแหน่งในการวางพริก พบว่ากรณีการเปิดหลอดไฟให้ความร้อนจำนวน 4 ชุด ที่ค่าความเร็วลมร้อนเท่ากับ 2.0 เมตรต่อวินาที ให้อัตราการอบแห้งที่ดีที่สุด โดยใช้เวลาประมาณ 8 ชั่วโมง ในการลดปริมาณความชื้นให้มีค่าต่ำกว่า 13 % มาตรฐานเปียก ผลิตภัณฑ์พริกแห้งมีค่าเฉลี่ยของสีแดง สีเขียว และสีน้ำเงินเท่ากับ 219, 96 และ 65 ตามลำดับ และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 13, 16 และ 14 ตามลำดับ 


คำสำคัญ : การเปลี่ยนแปลงสี; การประมวลผลภาพ; การอบแห้งพริกว พฤติกรรมการอบแห้ง

Article Details

บท
Engineering and Architecture
Author Biographies

ศุษมา โชคเพิ่มพูน

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000

สุริยา โชคเพิ่มพูน

หน่วยวิจัยวิศวกรรมความร้อนและระบบของไหล สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ตำบลพังโคน อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร 47160

References

[1] Mohanraj, M. and Chandrasekar, P., 2008, Drying of copra in a forced convection solar drier, Biosyst. Eng. 99: 604-607.
[2] Kadam, M.D. and Samuel, D.V.K., 2006, Convective flat-plate solar heat collector for cauliflower drying, Biosyst. Eng. 93: 189-198.
[3] Nourhene, B., Mohammed, K. and Nabil, K., 2008, Experimental and mathematical investigations of convective solar drying of four varieties of olive leaves, Food Bioprod. Process. 86: 176-184.
[4] Fudholi, A., Sopian, K., Alghou,l M.A., Ruslan, M.H. and Othman, M.Y., 2015, Performances and improvement potential of solar drying system for palm oil fronds, Renew. Energ. 78: 561-565.
[5] Dina, S.F., Ambarita, H., Napitupulu, F.H. and Kawai, H., 2015, Study on effectiveness of continuous solar dryer integrated with desiccant thermal storage for drying cocoa beans, Case Stud. Therm. Eng. 5: 32-40.
[6] Fudholi, A., Sopian, K., Othman, M.Y. and Ruslan, M.H., 2015, Energy and exergy analyses of solar drying system of red seaweed, Energ. Buildings. 68: 121-129.
[7] Gulcimen, F., Karakaya, H. and Durmus, A., 2016, Drying of sweet basil with solar air collectors, Renew. Energ. 93: 77-86.
[8] Wang, W., Li, M., Hassanien, R.H.E, Wang, Y. and Yang, L., 2018, Thermal performance of indirect forced convection solar dryer and kinetics analysis of mango, Appl. Therm. Eng. 134: 310-321.
[9] Lingayat, A., Chandramohan, V.P. and Raju, V.R.K., 2017, Design, development and performance of indirect type solar dryer for banana drying, Enrgy. Proced. 109: 409-416.
[10] ปราณี อ่านเปื่อง, 2544, หลักการวิเคราะห์อาหารด้วยประสาทสัมผัส, พิมพ์ครั้งที่ 3, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 343 น.
[11] สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา, 2555, การอบ แห้งอาหารและวัสดุชีวภาพ, สำนักพิมพ์ท้อป, กรุงเทพฯ, 324 น.
[12] Nadian, M.H, Rafiee, S., Aghbashlo, M., Hosseinpour, S. and Mohtasebi, S.S., 2015, Continuous real-time monitoring and neural network modeling of apple slices color changes during hot air drying, Food Bioprod. Process. 94: 263-274.
[13] Khazaei, N.B., Tavakoli, T., Ghassemian, H., Khoshtaghaza, M.H. and Banakar, A., 2013, Applied machine vision and artificial neural network for modeling and controlling of the grape drying process, Comput. Electron. Agr. 98: 205-213.
[14] Manninen, H., Paakki, M., Hopia, A. and Franzen, R., 2015, Measuring the green color of vegetables from digital images using image analysis, LWT-Food Sci. Technol. 63: 1184-1190.
[15] Liming, X. and Yanchao, Z., 2010, Automated strawberry grading system based on image processing, Comput. Electron. Agr. 71S: S32-S39.
[16] Amjad, W., Crichton, S.O.J., Munir, A., Hensel, O. and Sturm, B., 2018, Hyper spectral imaging for the determination of potato slice moisture content and chromaticity during the convective hot air drying process, Biosyst. Eng. 166: 170-183.
[17] Huang, M., Wanga, Q., Zhang, M. and Zhu, Q., 2014, Prediction of color and moisture content for vegetable soybean during drying using hyperspectral imaging technology, J. Food Eng. 128: 24-30.
[18] ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2557, การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS, พิมพ์ครั้งที่ 15, สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพฯ, 576 น.