แอปพลิเคชันรถสองแถวภายในเขตอำเภอเมืองสกลนครด้วย Google Map API
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแอปพลิเคชันรถสองแถวภายในเขตอำเภอเมืองสกลนครด้วย Google Map API 2) ศึกษาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ ผลการวิจัยพบว่า 1) แอปพลิเคชันรถสองแถวภายในเขตอำเภอเมืองสกลนครด้วย Google Map API สามารถพัฒนาขึ้นได้ด้วยภาษา Java โดยใช้ Android Studio ร่วมกับ Google Maps API 2) ผลการประเมินประสิทธิภาพและความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ พบว่า อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48 และผู้ใช้มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.66
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ก่อนเท่านั้น
References
Wikipedia. จังหวัดสกลนคร. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2564] จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดสกลนคร
อิศรา ทองทิพย์ ศาสตรา เหล่าอรรคะ และมนตรี ศรีราชเลา. แนวทางการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในจังหวัดสกลนคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 2562; 10(1): 59-78.
Gesmann, M., & de Castillo, D. (2011). Using the Google visualization API with R. The R Journal, 2011; 3(2): 40-44.
Hu, S., & Dai, T. Online map application development using google maps API, SQL database, and ASP .NET. International Journal of Information and Communication Technology Research, 2013; 3(3).
ทศพล จันทรภักตร์. การศึกษาการยกระดับคุณภาพการให้บริการของรถประจำทางสาย 12 ในจังหวัดพิษณุโลก. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2549.
ปานจิตร์ หลงประดิษฐ์. แอปพลิเคชันรับรู้และแสดงตำแหน่งสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรีการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี; 2559.
ดาราวรรณ นนทวาสี วิวัฒน์ มีสุวรรณ์ และเอกสิทธิ์ เทียมแก้ว. (2557). การพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2557; 4(8): 34-41.
ปิยะศักดิ์ ถีอาสนา. พัฒนาแอปพลิเคชันรถสองแถวสีน้ำเงิน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. คณะรัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. 2563.
สาย 4353, 287, 1422, 1426, 535, 544, 3 (2563, 30 มกราคม). สัมภาษณ์
พิสุทธา อารีราษฎร์. การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา. มหาสารคาม: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม; 2550.