Report on Growth Study of Dipterocarpus alatus Roxb.
Abstract
ในบรรดาไม้ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ไม้ยางโดยเฉพาะไม้ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) นับว่าเป็นไม้ที่มีผู้นิยมใช้สอยกันมากกว่าไม้กระยาเลยชนิดอื่นๆและมีปริมาณการผลิตออกมาจากป่าสูงกว่าไม้สักเสียอีก เช่นในระยะ 10 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2496 ถึง พ.ศ. 2505 มีการผลิตไม้สักออกมาจากป่า 2,126,140 เมตรลูกบาศก์ หรือเฉลี่ย 212,614 เมตรลูกบาศก์ต่อปี ส่วนไม้ยางในระยะเดียวกันมีการผลิตออกมารวมทั้งสิ้น 3,410,186 เมตรลูกบาศก์ หรือเฉลี่ยแล้วตกปีละ 341,019 เมตรลูกบาศก์ ซึ่งสูงกว่าไม้สักเฉลี่ยแล้วปีละ 128,405 เมตรลูกบาศก์
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
online 2452-316X print 2468-1458/Copyright © 2022. This is an open access article under the CC BY-NC-ND license (http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/),
production and hosting by Kasetsart University of Research and Development Institute on behalf of Kasetsart University.