ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมทนแล้งพันธุ์นครสวรรค์ 4

Main Article Content

สุริพัฒน์ ไทยเทศ
ศิวิไล ลาภบรรจบ
ทัศนีย์ บุตรทอง
กัญจน์ชญา ตัดโส

บทคัดย่อ

     ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ วิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเพื่อใหได้พันธุ์ใหม่ที่มีศักยภาพให้ผลผลิตสูงทนแล้ง และต้านทานโรคทางใบที่สำคัญ จากการประเมินผลผลิตตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ในแหล่งปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่สำคัญของประเทศไทย พบว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 4 ให้ผลผลิต 1,070 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่แตกต่างจากพันธุ์ลูกผสมนครสวรรค์ 3 และพันธุ์ลูกผสมการค้า ในสภาพขาดน้ำระยะออกดอกเป็นเวลา 1 เดือน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 4 ให้ผลผลิต 695 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์นครสวรรค์ 3 ร้อยละ 17 มีความต้านทานปานกลางต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่ และโรคราน้ำค้าง การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 4 เพื่อให้เกิดการผสมระหว่างละอองเกสรและไหมของสายพันธุ์แท้พ่อและแม่ได้ดี แนะนำให้ปลูกสายพันธุ์แท้แม่ (ตากฟ้า 1) 4 แถวสลับด้วยสายพันธุ์แท้พ่อ (ตากฟ้า 4) 1 แถว ซึ่งให้ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสม 396 กิโลกรัมต่อไร่

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัญจน์ชญา ตัดโส สุริพัฒน์ ไทยเทศ ชนันทวัฒน์ ศุภสุทธิ รางกูล จำนงค์ ชัญถาวร และสุทัศนีย์ วงค์ศุปไทย. 2561. การศึกษาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์ดีเด่น. น. 73-82. ใน: รายงานผลงานวิจัย ประจำปี 2561 ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร.

จำนงค์ ชัญถาวร สุริพัฒน์ ไทยเทศ ทัศนีย์ บุตรทอง พิเชษฐ์ กรุดลอยมา เพ็ญรัตน์ เทียมเพ็ง อานนท์ มลิพันธ์ สายชล แสงแก้ว อารีรัตน์ พระเพชร พินิจ กัลยา ศิลปิน ปรีชา แสงโสดา นิภาภรณ์ พรรณรา และสิทธิ์ แดงประดับ. 2558. การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้นพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง. น. 82-92. ใน: รายงานผลการวิจัยประจำปี 2558. ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัย พืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร.

ทัศนีย์ บุตรทอง สุริพัฒน์ ไทยเทศ พิเชษฐ์ กรุดลอยมา สุทัศนีย์ วงค์ศุปไทย จำนงค์ ชัญถาวร เพ็ญรัตน์ เทียมเพ็ง อานนท์ มลิพันธ์ สายชล แสงแก้ว อารีรัตน์ พระเพชร พินิจ กัลยาศิลปิน และปรีชา แสงโสดา. 2557. การเปรียบเทียบในท้องถิ่นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้นพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง. น. 13-24. ใน: รายงานผลการวิจัย ประจำปี 2557. ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร.

พิเชษฐ์ กรุดลอยมา สุริพัฒน์ ไทยเทศ กัญจน์ชญา ตัดโส กัลยา ภาพินธุ สมโภชน์ แก้วเทียน เสกสรร อุดมการณ์เกษตร สายชล จอมเกาะ อรรณพ กสิวิวัฒน์ ปรีชา แสงโสดา อานนท์ มลิพันธุ์ และ อารีรัตน์ พระเพชร. 2552. การเปรียบเทียบในท้องถิ่น: พันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง. น. 124-137. ใน: รายงานผลการวิจัย ประจำปี 2552. ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร.

ศิวิไล ลาภบรรจบ พีระวรรณ พัฒนวิภาส พิเชษฐ์ กรุดลอยมา และสุริพัฒน์ ไทยเทศ. 2553. การประเมินพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่. น. 383-389. ใน: รายงานผลการวิจัย ประจำปี 2553. ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร.

ศิวิไล ลาภบรรจบ. 2551. เทคนิคในการคัดเลือกพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต้านทานโรคพืช. เอกสารวิชาการประกอบการฝกึ อบรมเรื่อง การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดทนทานแล้งในประเทศไทย. วันที่ 18-21 กุมภาพันธ์ 2551. โรงแรมเบเวอร์รี่ฮิลล์ปาร์ค, จังหวัดนครสวรรค์.

ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์. 2562. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมใช้เองหรือเชิงการค้า. แหล่งข้อมูล https://www.doa.go.th/fc/nakhonsawan/?p=185 (24 สิงหาคม 2564).

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2562. ตารางแสดงรายละเอียดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์. แหล่งข้อมูล http://www.oae.go.th/view/1/ตารางแสดงรายละเอียดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์/TH-TH (11 มกราคม 2563).

สุริพัฒน์ ไทยเทศ พิเชษฐ์ กรุดลอยมา สุทัศนีย์ วงศ์ศุปไทย และทัศนีย์ บุตรทอง. 2555ก. เทคนิคการคัดเลือกพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทนทานแล้ง. น. 150-160. ใน: การประชุมวิชาการพืชไร่และพืชทดแทนพลังงานประจำปี 2555. สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน. 18-20 มิถุนายน 2555. ณ โรงแรมภูริมาศบีช แอนด์ สปา จังหวัดระยอง.

สุริพัฒน์ ไทยเทศ พิเชษฐ์ กรุดลอยมา สุทัศนีย์ วงศ์ศุปไทย ทัศนีย์ บุตรทอง เพ็ญรัตน์ เทียมเพ็ง อานนท์ มลิพันธ์และกิตติมา อินทะเคหะ. 2555ข. การเปรียบเทียบเบื้องต้นพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุสั้นพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง. น. 64-74. ใน: รายงานผลการวิจัยประจำปี 2555. ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร.

สุริพัฒน์ ไทยเทศ พิเชษฐ์ กรุดลอยมา ทัศนีย์ บุตรทอง เพ็ญรัตน์ เทียมเพ็ง อานนท์ มลิพันธ์ สายชล แสงแก้ว ปรีชา แสงโสดา และกิตติมา อินทะเคหะ. 2556. การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลูกผสมอายุสั้นพันธุ์ดีเด่นทนทานแล้ง. น. 13-23. ใน: รายงานผลการวิจัย ประจำปี 2556. ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร.

สุริพัฒน์ ไทยเทศ พิเชษฐ์ กรุดลอยมา สุทัศนีย์ วงศ์ศุปไทย ทัศนีย์ บุตรทอง จำนงค์ ชัญถาวร อมรรัตน์ ภู่โต. 2558. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสม อายุยาวเพื่อผลผลิตสูงและทนทานแล้ง. น. 12-28. ใน: รายงานผลการวิจัย ประจำปี 2558. ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร.

Aslam, M., M.A. Maqbool and R. Cengiz. 2015. Drought Stress in Maize (Zea mays L.) Effects, Resistance Mechanisms, Global Achievements and Biological Strategies for Improvement. Springer. pp. 19-44.

Aylor, D.E. 2003. Rate of dehydration of corn (Zea mays L.) pollen in the air. Journal of Experimental Botany 54(391): 2307-2312.

Bänziger, M., G.O. Edmeades, D. Beck, and M. Bellon. 2000. Breeding for Drought and Nitrogen Stress Tolerance in Maize: From Theory to Practice. Mexico, D.F: CIMMYT.

CIMMYT. 2009. Breeding for abiotic stress tolerance. Paper presented at training course on Breeding maize hybrids for rain-fed environment. Aug 31-Sep 5, 2009. ICRISAT, India.

Edmeades, G.O., J. Bolanos, A. Elings, J.M. Ribaut, M. Banziger and M.E. Westgate. 2000. The role and regulation of the anthesis silking interval in maize. pp. 43-73. In: M.E. Westgateand K. Boote (eds.), Physiology and Modeling Kernel Set in Maize. Crop Science Society of America, Madison, WI, USA.

Eskasingh, B., P. Gypmantasiri, K. Thong-Ngam and P. Grudloyma. 2004. Maize in Thailand: Production Systems, Constraints, and Research Priorities. D.F.: CIMMYT, Mexico.

Fischer, K.S., E.C. Johnson, and G.O. Edmeades. 1983. Breeding and Selection for Drought Resistance in Tropical Maize. CIMMYT, Mexico.

Luna, S., V.J. Figueroa, M.B. Baltazar, M.R. Gomez, L.R. Townsend, and J.B. Schoper. 2001. Maize pollen longevity and distance isolation requirements for effective pollen control. Crop Science 41: 1551-1557.

Nair, S.K., T.A. Setty, R.S. Rathore, R. Kumar, N.N. Singh and B.M. Prasanna. 2008. Towards molecular marker mapping of genes conferring resistance to sorghum downy mildew (Peronosclerospora sorghi) in maize. Available: http://www.agron.missouri.edu/ mnl/75/60nair.html (July 2, 2007).

Roeckel-Drevet, P. and C. Digonner. 1995. Fertility of Zea mays pollen during dehydration: physiological steps outlined by nucleotide measurements. Plant Physiology and Biochemistry 33: 289-294.

Sari-Gorla, M., P. Krajewski, N. Di Fonzo, M. Villa. and C. Frova. 1999. Genetic Analysis of Drought Tolerance in Maize by Molecular Markers II. Plant Height and Flowering. Theoretical and Applied Genetics 99: 289- 295.

Scott, G.E., S.B. King and J.W. Armour. 1984. Inheritance of resistance to southern corn rust in maize populations. Crop Science 24: 265-267.