การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใบหม่อน (Morus alba L.) แผ่นผสมสาหร่ายผมนาง (Gracilari a spp.) และข้าวหอมกระดังงา (Oryza sativa cv. Hom Kradang Ngah) เป็นอาหารว่างเพื่อสุขภาพ

Main Article Content

มาดีนา น้อยทับทิม
วรรษมน วัฑฒนายน
วิจิตรา เฉิดฉิ้ม
วุฒิชัย ศรีช่วย

บทคัดย่อ

     งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใบหม่อนแผ่นผสมสาหร่ายผมนางและผลิตภัณฑ์ใบหม่อนแผ่นผสมข้าวหอมกระดังงาเป็นอาหารว่างเพื่อสุขภาพ พบว่าผลิตภัณฑ์ใบหม่อนแผ่นผสมข้าวหอม กระดังงาสูตรที่ 4 ได้รับคะแนนการยอมรับโดยรวมมากที่สุด รองลงมาคือ ใบหม่อนแผ่นผสมสาหร่ายผมนางสูตรที่ 2 ซึ่งทั้งสองสูตรอยู่ในระดับชอบเล็กน้อย การประเมินอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ใบหม่อนแผ่นผสมสาหร่ายผมนางและ ใบหม่อนแผ่นผสมข้าวหอมกระดังงาที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 3 เดือนในบรรจุภัณฑ์ 2 ลักษณะ คือ ซองอลูมิเนียมฟอยล์ และซองอลูมิเนียมฟอยล์ที่มีสารดูดความชื้น พบว่า ค่าปริมาณน้ำอิสระ ค่ำความชื้น และปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมดของ ผลิตภัณฑ์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลาการเก็บนานขึ้น คุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เรื่องสาหร่ายทะเลอบ การวิจัยนี้แนะนำให้บรรจุผลิตภัณฑ์ใบหม่อนแผ่นในซองอลูมิเนียมฟอยล์ที่มีสารดูดความชื้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ปาลิดา ตั้งอนุรัตน์ อินทิรา ลิจันทร์พร และนันท์ชนก นันทะไชย. 2561. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใบบัวแผ่นทอดกรอบ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(2): 657-660.

พลากร สัตย์ซื่อ และปุรวิชญ์ พิชญาพินันท์. 2559. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการเพาะเลี้ยงสาหร่ายผมนาง (Gracilaria spp.) ของเกษตรกรในตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วารสารหาดใหญ่วิชาการ 14(2): 171-184.

รอมลี เจะดอเลาะ. 2560. ผลของบรรจุภัณฑ์และอายุการเก็บรักษาต่อคุณภาพและสมบัติต้านอนุมูลอิสระของข้าวเกรียบปลาดิบเสริมกากรำข้าว. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 6(2): 47-64.

วันเพ็ญ แสงทองพินิจ ศิริญา ทาคำ พรทิพย์ เทพทับทิม และปรีดา เฟอื่ งฟู. 2558. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักแผ่นเพื่อสุขภาพจากกระเจี๊ยบ. รายงานการประชุมวิชาการครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 30 มีนาคม-31 มีนาคม. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, จังหวัดนครปฐม. น. 771-780.

ศูนย์กสิกรไทย. 2563. ตลาดขนมขบเคี้ยวในอินโดนีเซีย. แหล่งข้อมูล https://www.kasikornbank.com/SiteCollectionDocumentsbusinesssme

knowledgearticleKSMEAnalysisThaisnackSMEThaisnack_ SME.pdf (20 เมษายน 2564).

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. 2557. การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกข้าวหอมกระดังงา. แหล่งข้อมูล http://www.rdpb.go.th/UploadNew/Documents/.pdf (31 มกราคม2564).

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2547. สาหร่ายทะเลอบ. แหล่งข้อมูล https://tcps.tisi.go.th/pub/tcps515_47.pdf (31 มกราคม 2564).

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2558. ผักและผลไม้แห้ง. แหล่งข้อมูล https://tcps.tisi.go.th/pub/tcps0136_58.pdf (31 มกราคม 2564).

เอกราช แก้วนางโอ นิธิศ แสงอรุณ สมบูรณ์ สุวรรณโณ อัมพร ทองไชย สำเริง แซ่ตัน รชนิศ พานิชกิจ วัฒนา โพธิ์ศิริ วรัญญา ด่านทวีศิลป์ สมทรง โชติชื่น กัญญา เชื้อพันธุ์ สุนันทา วงศ์ปิยชน ภคินี อัครเวสสะพงศ์ เกรียงไกร พันธุ์วรรณ์ บุญนะ หนูคง จรูญ ศรีสุวรรณ กัณธิกานต์ ปลอดปล้อง และมาเรียม มูนะ. 2557. หอมกระดังงาข้าวพื้นเมืองสายพันธุ์ดีจังหวัดนราธิวาส.รายงานการประชุมวิชาการข้าวและธัญพืชเมืองหนาว ครั้งที่ 31, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. น. 105-117.

AOAC. 2000. Official methods of analysis of AOAC International. 15th Edition. Arlington: AOAC International.

Chan, P. T., P. Matanjun, S. M. Yasir and T. T. Song. 2014. Antioxidant and hypolipidaemic properties of red seaweed, Gracilaria changii.Journal of Applied Phycology 25(5): 1-11.

Chirapart, A. 2008. A review of Gracilaria (sensulatu) from Thailand. pp. 45-61. In: S. M. Phang, K. Lewmanomont, and P. E. Lim (eds.). Taxomony of Southeast Asian Seaweeds,Institute of Ocean and Earth Sciences Monograph Series 2. University of Malaya Press, Kuala Lumpur, Malaya.

Ciurzyñska, A., P. Ciesluk, M. Barwinska, W. Marczak, A. Ordyniak, A. Lenart and M. Janowicz. 2019. Eating habits and sustainable food production in the development of innovative “healthy” snacks (running title: innovative and“healthy” snacks). Journal Sustainability 11(2800): 1-20.

Cousin, M. A., R. T. Riley and J. J. Pestka. 2005. Foodborne mycotoxins: Chemistry, biology, and toxicology. pp. 163-226. In: P. M. Fratamico, A. K. Bhunia and J. L. Smith (eds.).

Foodborne pathogens: Microbiology and molecular biology. Caister Academic Press, Norfolk, UK.

Ganeshamoorthy, U. 2019. Effect of different processing conditions on antioxidant activity of Gracilaria Edulis (Rhodophyceae) in Sri Lanka. Journal of Biomedical Engineering and Medical Imaging 6(5): 65-90.

Hyun, J-E., J-H. Kim, Y-S. Choi, E-M. Kim, C-J. Kim and S-Y. Lee. 2018. Evaluation of microbial quality of dried foods stored at different relative humidity and temperature and effect of packaging methods. Journal of Food Safety 38(2): 1-9.

Ignacio, M. C. B., M. H. Somera, C. P. Fider, L. P. Tabu and A. L. Montesines. 2016. Development of affordable vegetable-based snack food recipes for grade school and high school students. Available: http://twc.tesda.gov.ph/researchanddevelopment/ researches/12%20TWC_2.tech%20research%20paper_vegie%20snacks%20(2).pdf (March 3, 2021).

Lewmanomont, K. 1994. The species of Gracilariafrom Thailand. pp. 135-148. In: I. A. Abbott(eds.). Taxonomy of economics seaweeds with Reference to Some Pacific and CaribbeanSpecies. California Sea Grant College Program, La Jolla, California.

Morris, A., A. Barnett and O.J. Burrows. 2006. Food spoilage packaging and storage. Available: http://vvssnutrition.weebly.com/uploads/7/7/8/1/7781538/food_spoilage.pdf (March 3, 2021).

Muangmai, N., G. C. Zuccarello, T. Noiraksa and K. Lewmanomont. 2014. A new flat Gracilaria: Gracilaria lantaensis sp. nov. (Gracilariales, Rhodophyta) from the Andaman coast of Thailand. Phycologia 53(2): 137-145.

Muangmai, N., K. Lewmanomont, A. Prathep, R. Terada and G. C. Zuccarello. 2017. Gracilaria coppejansii sp. nov. (Gracilariales, Rhodophyta) a new flattened species from the Andaman coast of southern Thailand. Botanica Marina 60(5): 533-541.

Sarkar, S. and K. Aparna. 2020. Food packaging and storage. In: Research Trends in Home Science and Extension. AkiNik Publications.

Sarkhel, S. and D. Manvi. 2021. Processing of mulberry leaves: A review. International Journal of Chemical Studies 9(1): 859-865.

Srivastava, S., R. Kapoor, A. Thathola and R.P. Srivastava. 2003. Mulberry (Morus alba) leaves as human food: A new dimension of sericulture. International Journal of Food Science and Nutrition 54(6): 411-416.

Zhou, Z., K. Robards, S. Helliwell and C. Blanchard. 2003. Effect of rice storage on pasting properties of rice flour. International Food Research Journal 36(6): 625-634.