การพัฒนาสายอากาศรูปทรงพาราโบลิกบนระบบเครือข่ายเฉพาะกิจ

Main Article Content

พรหมเมศ วีระพันธ์
กนกวรรณ เขียววัน

Abstract

บทความนี้เป็นการนำเสนอผลการทดลองการคำนวณหาจุดศูนย์รวมสัญญาณเพื่อให้ได้กำลังส่งที่มีระยะมากขึ้นกว่าค่ามาตรฐานของอุปกรณ์ที่นำมาต่อเป็ นระบบเครือข่ายเฉพาะกิจ โดยระบบเครือข่ายนี้ใช้บอร์ดคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กราสเบอรรี่ไพสร้างเป็นโหนดในการรับส่งข้อมูล ผู้วิจัยได้สร้างสายอากาศชนิดทรงพาราโบลิกด้วยการนำวัสดุทรงโค้งในขนาดที่แตกต่างกันมาทดลอง ผลการทดลองพบว่าอัตราการขยายสัญญาณแปรผันตรงกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง และวัสดุที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 36 เซนติเมตร ที่นำมาทดลองสามารถรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเฉพาะกิจได้ในระยะส่งประมาณ 2 กิโลเมตร อัตราขยายอยู่ที่ -85 dBm ความเร็วในการรับส่งอยู่ที่ 28.57 นาทีที่ขนาดไฟล์ 1000 เมกะไบต์ บนพื้นฐานเส้นทางระนาบที่ไร้สิ่งกีดขวาง

 

Ad hoc networking with parabolic antenna

The article aims to present the experimental results of calculation of signal focus in order to find out the signal power which was higher than equipment standard of the ad-hoc network connection. The various sizes of particular curved materials were used to develop the experimental parabolic antennas. It was found that the signal amplifier ratio directly varied to diameter sizes. In addition, 36 cm-diameter material was able to transfer data in the ad-hoc network within the radius of 2 kilometre with amplifier ratio at -85 dBm. The best result took 28.57 minutes to transfer a 1000 MB file on flat area without obstacles.

Article Details

How to Cite
วีระพันธ์ พ., & เขียววัน ก. (2016). การพัฒนาสายอากาศรูปทรงพาราโบลิกบนระบบเครือข่ายเฉพาะกิจ. RMUTSB ACADEMIC JOURNAL, 4(1), 24–31. Retrieved from https://li01.tci-thaijo.org/index.php/rmutsb-sci/article/view/99507
Section
Research Article