ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเปรียบเทียบความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา รายได้ และภูมิลำเนา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคไต จำนวน 1,200 คน จากวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA ผลการศึกษา พบว่า 1) ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาความรอบรู้ด้านสุขภาพรายด้าน พบว่า ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพ ด้านการเข้าถึงข้อมูล ด้านการสื่อสารข้อมูล ด้านการประเมินข้อมูล และด้านการนำความรู้เกี่ยวกับสุขภาพไปใช้ อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการรู้เท่าทันสื่ออยู่ในระดับต่ำ 2) การเปรียบเทียบความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง พบว่า อายุ การศึกษา รายได้ และภูมิลำเนาที่ต่างกัน จะมีความรอบรู้ด้านสุขภาพแตกต่างกัน ส่วนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีเพศต่างกันมีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่แตกต่างกัน
Downloads
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เจ้าของลิขสิทธิ์ (สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์) ผู้เขียน ตกลงว่าการทำสำเนาบทความหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของบทความดังกล่าวในรูปแบบสิ่งพิมพ์หรืออิเล็กทรอนิกส์ตามที่ได้รับอนุญาต จะต้องระบุประกาศลิขสิทธิ์ตามที่กำหนดไว้ในวารสาร พร้อมทั้งอ้างอิงข้อมูลฉบับสมบูรณ์ของบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารที่จัดทำโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ อย่างครบถ้วนทุกครั้ง
References
ประเสริฐ ธนกิจจารุ. การรักษาความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง. วารสารกรมการแพทย์. 2558; 40(5): 37-49.
Jain, D., & Green, J. A. (2016). Health literacy in kidney disease: Review of the literature and implications for clinical practice. World journal of nephrology. 2016; 5(2): 147.
Mancuso, J. M. (2009). Assessment and measurement of health literacy: an integrative review of the literature. Nursing & health sciences. 2009; 11(1): 77-89. doi/10.1111/j.1442-2018.2008.00408.x.
World Health Organization. Division of health promotion, education and Communications health education and health promotion unit. Health Promotion Glossary. 1998.
Nutbeam D. Health Literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communication strategies into the 21st century. Health Promotion International 2000; 15(3): 259-67. doi: 10.1093/heapro/15.3.259
พงษ์ศิริ งามอัมพรนารา และสุจิตรา สุคนธทรัพย์. ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสุขศึกษา พลศึกษาและสันทนาการ. 2563; 46(2): 68-79.
สุทธินันท์ คอดริงตัน, ศิริรัตน์ ปานอุทัย และทศพร คำผลศิริ. ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในพระสงฆ์สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง. พยาบาลสาร. 2564; 48(4): 268-280.
ศิริวรรณ ชอบธรรมสกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนของนักศึกษาปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา. 2562: 8(1): 116-123.
Baker, D.W., Gazmararian, J.A., Williams, M.V., Scott, T., Parker, R. M., Green, D., Ren, J. Peel, J. Functional health literacy and the risk of hospital admission among Medicare managed care enrollees. American Journal of Public Health. 2002; 92(8): 1278-83. doi: 10.2105/ajph.92.8.1278
Schillinger, D., Grumbach, K., Piette, J., Wang, F., Osmond, D., Daher, C., Palacios, J., Sullivan, G.D. and Bindman, A.B. Association of health literacy with diabetes outcomes. Journal of the American Medical Association. 2002; 288: 475-482. doi: 10.1001/jama.288.4.475
สุวิมล ติรกานันท์. การประเมินโครงการ: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2543.
Sudore, R.L., et al. Limited literacy in older people and disparities in health and healthcare access. J Am Geriatr Soc. 2006; 54(5): 770-6. doi: 10.1111/j.1532-5415.2006.00691.x.
Federman, A.D., et al. Health literacy and cognitive performance in older adults. J Am Geriatr Soc. 2009; 57(8): 1475-80. doi: 10.1111/j.1532-5415.2009.02347.x
Li, C.Y., et al. Health literacy and health status of Korean-Chinese elderly people living in Yanbian, China. J Korean Acad Nurs. 2009; 39(3): 386-92.
Jovic-Vranes, A., V. Bjegovic-Mikanovic, and J. Marinkovic. Functional health literacy among primary health care patients: data from the Belgrade pilot study. J Public Health (Oxf). 2009. 31(4): 490-5. doi: 10.1093/pubmed/fdp049
von Wagner, C., et al. Functional health literacy and health promoting behaviour in a national sample of British adults. J Epidemiol Community Health. 2007; 61(12): 1086-90. doi: 10.1136/jech.2006.053967
Gazmararian, J.A., et al. Health literacy among Medicare enrollees in a managed care organization. JAMA. 1999; 281(6): 545-51. doi: 10.1001/jama.281.6.545.
Sorensen, K., Van den Broucke, S., Fullam, J., Doyle, G., Pelikan, J., Slonska, Z., & Brand, H. Health literacy and public health: a systematic review and integration of definitions and models. BMC public health. 2012; 12(1): 1-13. doi: 10.1186/1471-2458-12-80
Ozdemir, H., et al. Health literacy among adults: a study from Turkey. Health Educ Res. 2010; 25(3): 464-77. doi: 10.1093/her/cyp068
Brown, P Benjamin. Interpreting medicine: Lessons from a Spanish-Language Clinic. Annals of Family Medicine. 2014; 12(5): 473-474. doi: 10.1370/afm.1661