ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์การแพร่ระบาดของโรคเมลิออยโดสิสที่มีผลจากการใส่รองเท้าบูท

Main Article Content

ญาดา ป้องกัน
เบญญาภา น้ำขาว
อนุสรา ศิริรัตน์
อัญชุลี ณ ตะกั่วทุ่ง
กันยากร อ่อนรักษ์
เกตุกนก หนูดี

บทคัดย่อ

โรคเมลิออยโดสิสเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขในเกือบทุกประเทศในเขตร้อนชื้น ซึ่งเชื้อโรคอาศัยอยู่ในดินและแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อผ่านการสัมผัสดินและน้ำขณะทำงาน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงได้พัฒนาและวิเคราะห์ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์การแพร่ระบาดของโรคเมลิออยโดสิสที่มีผลจากการใส่รองเท้าบูท ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์มีจุดสมดุล     2 จุด คือ จุดสมดุลที่ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคและจุดสมดุลที่มีการแพร่ระบาดของโรค รวมทั้งค่าระดับการติดเชื้อ (RO)  และ Ri  เมื่อ i = 1, 2 ,3  เป็นเงื่อนไขความเสถียรภาพของจุดสมดุล นั่นคือ ถ้า R0<1 และ R1<1 แล้วจุดสมดุลที่ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคมีความเสถียรภาพเฉพาะที่เชิงเส้นกำกับ และถ้า R0>1, R2>1 และ R3>1 แล้วจุดสมดุลที่มีการแพร่ระบาดของโรคมีความเสถียรภาพเฉพาะที่เชิงเส้นกำกับผลการวิเคราะห์เชิงตัวเลขแสดงให้เห็นว่าการใส่รองเท้าบูทเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคเมลิออยโดสิส ดังนั้นควรสนับสนุนให้ใส่รองเท้าบูทเพื่อลดการแพร่กระจายของโรคเมลิออยโดสิส

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค. 2564. คู่มือโรคเมลิออยด์. สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์, กรุงเทพฯ. [Division of Communicable Diseases Department of Disease Control. 2021. Guideline of Melioidosis. Graphic and Design Publishing, Bangkok. (in Thai)]

Infectious Diseases Society of America. 2023. Melioidosis outbreak in Hong Kong: What is the cause?. Available at: https://www.idsociety.org. Retrieved 17 March 2023.

Thailand reports increase in melioidosis in 2022. 2022. Available at: http://outbreaknewstoday.com/thailand-reports-increase-in-melioidosis-in-2022/. Retrieved 30 March 2023.

กรมควบคุมโรค. 2566. พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพรายสัปดาห์ ฉบับที่ 11/2565 “เตือนประชาชนระวังป่วยโรคเมลิออยโดสิสคนที่มีแผล ควรเลี่ยงการเดินลุยน้ำย่ำโคลน”. แหล่งข้อมูล : https://ddc.moph.go.th/. ค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566.

ศูนย์วิจัยโรคเมลิออยโดสิส. 2557. รายงานประจำปี 2557. คณะแพทยศาสตร์, มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, ขอนแก่น. [Center of Melioidosis Research. 2014. Annual Report 2014. Faculty of Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen. (in Thai)]

Mahikul, W. et al. 2019. Modelling population dynamics and seasonal movement to assess and predict the burden of melioidosis. PLOS Neglected Tropical Diseases, 3(5), 1-15, https://doi.org/10.1371/journal.pntd.0007380.

พรวิลัย ชาญกิจกรรณ์ และพันธนี พงศ์สัมพันธ์. 2563. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์การระบาดของโรคเมลิออยโดสิสจากสัตว์สู่คนโดยพิจารณาจากผลกระทบปัจจัยปริมาณน้ำฝน. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 19(1), 80-94, https://doi.org/10.14416/j.appsci.2020.01.007. [Pornwilai Chankitkan and Puntani Pongsumpun. 2020. A mathematical model of melioidosis transmission in humans and animals with the effect of a rainfall factor. The Journal of Applied Science, 19(1), 80-94, https://doi.org/10.14416/j.appsci.2020.01.007. (in Thai)]

Hinjoy, S. et al. 2018. Melioidosis in Thailand: Present and future. Tropical Medicine and Infectious Disease, 3(38), 1-16, https://doi.org/10.3390/tropicalmed3020038.

Pongsumpun, P. 2020. Transmission model of Burkholderia Pseudomallei infection in Thailand.Proceedings 20th PATTAYA International Conference on Science, Engineering, Technology & Natural Resources (SETNR-20), Pattaya, Thailand, 11-16, https://doi.org/10.17758/URUAE12.UL08201027.

Engida, H.A. et al. 2022. A mathematical model analysis of the human melioidosis transmission dynamics with an asymptomatic case. Heliyon, 8(11), 1-16, https://doi.org/10.1016/j.heliyon.2022.e11720.

Tavaen, S. and Viriyapong, R. 2019. Global stability and optimal control of melioidosis transmission model with hygiene care and treatment. NU. International Journal of Science, 16(2), 31-48, https://doi.org/10.1504/IJMIC.2020.112294.

van den Driessche, P. and Watmough, J. 2002. Reproduction numbers and sub-threshold endemic equilibria for compartmental models of disease transmission. Mathematical Biosciences, 180, 29-48, https://doi.org/10.1016/S0025-5564(02)00108-6.

Edelstein-Keshet, L. 1988. Mathematical Models in Biology. Random House Publisher, New York.

Pongsumpun, P. 2017. Mathematical model of Influenza with seasons in Thailand. Proceedings of the 6th Burapha University International Conference 2017, Bangsaen, Chonburi, Thailand, 494-502.

Khan, M.A., Islam, S. and Khan, S.A. 2014. Mathematical modeling towards the dynamical interaction of leptospirosis. Applied Mathematics & Information Sciences, 8(3), 1049-1056.