Community participation in collecting local knowledge. For Community Product Development In the district area along the border. Ubon Ratchathani
คำสำคัญ:
ระบบการจัดการฐานข้อมูล, นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น, โอทอป (OTOP), การมีส่วนร่วมชุมชน, การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน, พื้นที่อำเภอตามแนบตะเข็บชายแดนบทคัดย่อ
คณะผู้วิจัยมีการมีส่วนร่วมของชุมชนในการรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ในพื้นที่อำเภอตามแนวตะเข็บชายแดน จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนานวัตกรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สามารถเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับชุมชน 2) เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการรวมรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชน พัฒนาขึ้นด้วยภาษา PHP และสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL โดยงานวิจัยครั้งนี้เก็บข้อมูลจากทั้งหมดกลุ่มพื้นที่วิจัย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจักสานบ้านหลักป้าย อำเภอบุณฑริก และกลุ่มทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติบ้านกุ่ม อำเภอโขงเจียม และมีการประเมินประสิทธิรูปของโปรแกรมโดยผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาระบบและการขอมีส่วนร่วมของชุมชนในการรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้นที่อำเภอตามแนวตะเข็บชายแดน จังหวัดอุบลราชธานี นั้น คณะผู้วิจัยพบว่าในระบงานมีความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างพบว่า
( ค่าเฉลี่ย = 3.97, S.D. = 0.71) มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยความความพึงใจ ร้อยละ 79.55
References
รพี ม่วงนนท์, อาทิตยา พิพัฒน์พงศ์อำไพ, รัชกฤช คล่องพยาบาล, ญาณวุฒิ ปิยะรัตนพิพัฒน์ และนพพร วิหคน้อย. (2564). ยุทธศาสตร์ของภาครัฐในการส่งเสริมหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 11 ฉบับที่ 3.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ. (2017). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560-2564).
คณาธิศ เนียมหอม. (2021). การพัฒนาเครื่อง จักตอกไม้ไผ่เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต สำหรับงานหัตกรรมชุมชน อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี. วารสาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม, 2(5), 19-27.
วรรณ วิชนี ถนอม ชาติ, อุทัย อัน พิมพ์, และ จำเนียร จวงตระกูล. (2020). การนำเสนอผลการ วิจัยเชิงคุณภาพ. วารสาร ชุมชน วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 14.4 1-13.
Mungmee, Noppadol, and Todtamon Sangsawang. (2020). แนวทางการ กระจาย สินค้า ที่ มี ประสิทธิภาพ ของ สินค้า หนึ่ง ตำบล หนึ่ง ผลิตภัณฑ์ (OTOP) ประเภท อาหาร ใน เขต ภาค ตะวันออก เฉียง เหนือ ตอน กลาง. Dhammathas Academic Journal 20.1 : 141-152.
สุจิตรา ยางนอก. (2559). การสร้างนวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : บ้านปะคำสำโรง ตำบลตูมใหญ่ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ระยะที่ 2.
รมยสาร. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2559) : หน้า 45-59.
บุญชม ศรีสะอาด. (1994). การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย. Journal of Educational Measurement Mahasarakham University 5.1: 51-61.
ชนปภพ ปั้นทอง. ความพึงพอใจของลูกค้าต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของร้านขายยาฟาสซิโนใน อำเภอเมืองเชียงใหม่= Customer satisfaction towards markeing mix factors of fascino drug stores in Mueang Chiang Mai district.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องต้องผ่านการพิจารณาคุณภาพทางวิชาการจากผู้ทรงคุณวุฒิประจำศาสตร์ (Peer Review) จำนวน 3 ท่าน ต่อ 1 บทความ
2. ข้อความหรือข้อคิดเห็นในวารสารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ฉบับนี้เป็นของผู้เขียนบทความ คณะผู้จัดวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา