ชีพลักษณ์วิทยาของต้นไม้ในป่าเต็งรังกับการประยุกต์เพื่อกำหนดเวลาในการทำไม้
Main Article Content
บทคัดย่อ
ชีพลักษณ์วิทยาของต้นไม้ได้ทำการศึกษาที่ป่าเต็งรัง อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา เพื่อกำหนดเวลาที่เหมาะสมในการทำไม้จากผลการศึกษาแสดงว่าเวลาที่เหมาะในการทำไม้ อาจจะทำเวลาใดก็ได้ เพราะการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติเป็นไปด้วยดี ไฟป่าได้ช่วยทำลายวัชพืช และไม้ชั้นล่างในฤดูแล้ง เมล็ดไม้จะร่วงงสู่พื้นดิน และงอกในฤดูฝนซึ่งมีความชุ่มชื้นพอ อย่างไรก็ดีขอเสนอแนะว่าฤดูที่เหมาะแก่การตัดไม้ ควรเบ็นฤดูฝนหลังจากเมล็ดไม้ร่วงลงสู่พื้นดินและงอกแล้ว ประกอบกับดินยังไม่แข็ง การเสียหายจากการตัดไม้มีน้อย การชักลากควรจะทำในระยะต่อมาจนกระทั่งถึงฤดูฝน
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า ต้นฉบับที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณาตีพิมพ์ลงในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยอมรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่วารสารวนศาสตร์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือ ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในผลงาน ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) แต่เพียงฝ่ายเดียว และหากข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ประสงค์ถอนบทความในระหว่างกระบวนการพิจารณาของทางวารสาร ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ยินดีรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณาบทความนั้น”