การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยจีโนม AAA ด้วยเทคนิคแฮตอาร์เอพีดี

Main Article Content

ศิริญยา คาชิมา
ธีระชัย ธนานันต์
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ

Abstract

Abstract


Musa (AAA group) ‘Kluai Hom’ is an economic crop that generates a lot of income for Thai farmers. Nowadays, the area for growing bananas has been expanded with widespread breeding. This study, the high annealing temperature-random amplified polymorphic DNA (HAT-RAPD) technique was used to estimate the genetic relationship among 13 cultivars of Kluai Hom, using 72 random primers. The 18 primers with clear amplified products were selected to use for DNA fingerprinting, resulting in 240 DNA bands ranging from 250 to 3,000 bp. The number of polymorphic bands was 199 (82.92 %). Furthermore, a dendogram was constructed based on similarity coefficients using UPGMA together with the NTSYS-pc version 2.01e. The dendrograms showed three major groups which similarity coefficients ranging from 0.65 to 0.91. The result of this research could further be useful for planning conservation and breeding program. 


Keywords: Kluai Hom; Musa; genetic relationship; DNA marker; HAT-RAPD

Article Details

How to Cite
คาชิมา ศ., ธนานันต์ ธ., & ขจรผดุงกิตติ ย. (2019). การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยจีโนม AAA ด้วยเทคนิคแฮตอาร์เอพีดี. Thai Journal of Science and Technology, 8(3), 300–308. https://doi.org/10.14456/tjst.2019.38
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

ศิริญยา คาชิมา

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ธีระชัย ธนานันต์

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

กรมวิชาการเกษตร, 2561, กล้วยกินได้ของกรมวิชาการเกษตร, เกินคุ้ม มีเดีย, นนทบุรี.
ฐิตาพร มณีเนตร, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2560, การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการจำแนกกล้วยไม้สกุลหวายหมู่แคลิสตาด้วยเครื่องหมายแฮตอาร์เอพีดี, Thai J. Sci. Technol. 6: 316-323.
ฐิติพร โท้มโสภา, เปรมณัช ขุนปักษี, ธีระชัย ธนา นันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2556, การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยสกุลมิวซาด้วยเทคนิคแฮตอาร์เอพีดี, Thai J. Genet. S1: 201-205.
นฤมล ธนานันต์, สุรีย์พร พุ่มเอี่ยม และธีระชัย ธนา นันต์, 2556, การจำแนกพันธุ์และความ สัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยไม้ช้างและลูกผสมด้วยเครื่องหมายแฮตอาร์เอพีดี, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 21: 360-370.
เบญจมาศ ศิลาย้อย, 2558, กล้วย, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
พรประภา ศิริเทพทวี, ฐิตาพร มณีเนตร, เปรมณัช ขุนปักษี, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2560, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการจำแนกกล้วยด้วยเครื่องหมายสก็อต, Thai J. Sci. Technol. 6: 271-278.
ราชันย์ ภู่มา และสมราน สุดดี, 2557, ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557, สำนักงานหอพรรณไม้สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์ การมหาชน), 2554, บัญชีรายการทรัพย์สินชีวภาพกล้วย, สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน), กรุงเทพฯ.
สุรกฤษฏิ์ สุขสกุล, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2561, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการจำแนกบัวสายและลูกผสมด้วยแฮตอาร์เอพีดี, Thai J. Sci. Technol. 7: 418-426.
สุรีพร เกตุงาม, 2546, เครื่องหมายดีเอ็นเอในงานปรับปรุงพันธุ์พืช, ว.วิชาการ ม.อบ. มหาวิทยา ลัยอุบลราชธานี 5(2): 37-59.
Bello-Bello, J.J., Iglesias-Andreu, L.G., Aviles-vinas, S.A., Gomez-Uc, E., Canto-Flick, A. and Santana-Buzzy, N., 2014, Somaclonal variation in Habanero pepper (Capsicum chinense Jacq.) as assessed ISSR molecular markers, Hort. Sci. 49: 481-485.
Doyle, J.J. and Doyle, J.L., 1987, A rapid DNA isolation procedure for small quantities of fresh leaf tissue, Phytochem. Bull. 19: 11-15.
Hu J.B., Li Q. and Li J., 2011, ISSR analysis of somaclonal variation in callus-derived plants of Amorphophallus rivieri Durieu, Acta Biol. Cracov. Bot. 53/1: 120-124.
Jayanthi, M., Gupta, R., Mandal, P.K. and Singh, K.B.M., 2018, Analysis of somaclonal variation using molecular markers in in vitro regenerated Chrysanthemum cv. Pusa centenary, Int. J. Curr. Microbiol. Appl. Sci. 7: 1642-1655.
Lu, Y., Zhang, X., Pu, J., Qi, Y. and Xie, Y., 2011, Molecular assessment of genetic identity and genetic stability in banana cultivars (Musa spp.) from China using ISSR markers, Aust. J. Crop Sci. 1: 25-31.
Opara, U.L., Jacobson, D. and Al-Saady, N.A., 2010, Analysis of genetic diversity in banana cultivars (Musa cvs.) from the South of Oman using AFLP markers and classification by phylogenetic, hierarchical clustering and principal component analyses, J. Zhejiang Univ-Sci. (Biomed. & Biotech.), 11: 332-341.
Pinar, H., Unlu, M., Bircan, M., Baysal, F., Tuna, G.S., Tuna, M. and Ercisli, S, 2015, Genetic characterization of banana clones grown in Turkey based on nuclear DNA content and SRAP markers, J. Appl. Bot. Food Qual. 88: 222-227.
Rahman, M.H. and Rajora, O.P., 2001, Microsatellite DNA somaclonal variation in micropropagated trembling aspen (Populus tremuloides), Plant Cell Rep. 20: 531-536.
Rohlf, F.J., 2002, NTSYSpc Numerical Taxonomy and Multivariate Analysis System, Applied Biostatistics, Inc., New York.
Sambrook, J., Fritsch, E.F. and Maniatis, T., 1989, Molecular Cloning: A Laboratory Manual, 2nd Ed., Cold Spring Harbor Laboratory Press, New York.
Tarafdar, S., Gupta, K.S., Banerjee, S. and Shailja, D., 2017, Identification of SSR and ISSR markers associated to off-type somaclonal variants in micro-propagated banana, J. Biotech. Biochem, 3(2): 18-22.