ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระและการตรวจสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาในน้ำจากลำไผ่พันธุ์นวลราชินี (Dendrocalamus sericeus Munro) และกิมซุง (Bambusa beecheyana)
Main Article Content
Abstract
Abstract
This study aimed to determine total phenolic content, total flavonoid content, antioxidant capacities and microbial qualities of raw bamboo water, boiled bamboo water, and pasteurized bamboo water, which were obtained from Nual Rachinee (Dendrocalamus sericeus Munro) and Kim Chung (Bambusa beecheyana) bamboo. The results indicated that Kim Chung bamboo water gave the total phenolic content and antioxidant capacities higher than those of Nual Rachinee bamboo water. Heat treatment methods have been shown to increase bioactive compounds in bamboo water. The boiled Nual Rachinee bamboo water had the highest levels of total phenolics and flavonoids. However, there were low concentrations of antioxidant compounds and their capacities as compared with vitamin C. Studies on microbial quality found mold contamination in raw Nual Rachinee bamboo water as well as yeast contamination in raw Kim Chung bamboo water. Therefore, raw bamboo water cannot be directly consumed as healthy drinking water.
Keywords: bamboo; bamboo water; antioxidant; microbial contamination
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อความที่ปรากฏในแต่ละเรื่องของวารสารเล่มนี้เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เขียนต้องยืนยันว่าความรับผิดชอบต่อทุกข้อความที่นำเสนอไว้ในบทความของตน หากมีข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องใด ๆ
References
บุษบัน ศิริธัญญาลักษณ์ และดรุณี หงส์วิเศษ, 2552, การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดจากใบไผ่, รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่, 22 น.
บัณฑรวรรณ ธุระพระ, จันทนา บุญยะรัตน์, เยาวเรศ ชูลิขิต และสุภาวดี ดาวดี, 2559, การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันในส้มโอ, ว.เภสัชศาสตร์อีสาน 11(ฉบับพิเศษ): 80-91.
ภัทรธิรา เตชะกำจรกิจ, พรรัตน์ สินชัยพานิช และรุ่งรัตน์ แจ่มจันทร์, 2557, การเปลี่ยนแปลงคุณภาพจุลินทรีย์และคุณภาพทางกายภาพน้ำฝรั่งที่มีการล่าช้าในกระบวนการผลิต, ว.วิจัย มสด. 7(2): 79-87.
รัชฎาพร อุ่นศิวิไลย์, จิราวรรณ อุ่นเมตตาอารี และจิตรา สิงห์ทอง, 2554, ฤทธิ์ทางชีวภาพและคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของสารสกัดย่านาง เครือหมาน้อยและรางจืด, รายงานวิจัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา, 38 น.
รมณี เชยสุนทร และศศิธร ตรงจิตภักดี, 2554, ผลของอายุการเก็บเกี่ยวต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของน้ำมะพร้าวน้ำหอมพาสเจอร์ไรซ์, การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 : สาขาอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สาริศา มโนมยิทธิกาญจน์ และมณีรัตน์ รัตนามหัทธนะ, 2558, ความคาดหวังของผู้บริโภคต่อเครื่องดื่มสุขภาพ, ว.เภสัชศาสตร์อีสาน 11: 126-132.
สุภาภรณ์ รพีศักดิ์, 2547, ผลของการพาสเจอร์ไรส์ การเก็บรักษา และสารถนอมอาหารต่อความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในน้ำส้มเขียวหวาน, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.
สำนักงานกองทุนสนับสนนุการสร้างเสริมสุขภาพ, ตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญอันตราย, แหล่งที่มา : http://www.thaihealth.or.th/partnership/Content/3557, 8 สิงหาคม 2561.
ศูนย์วิทยบริการ, ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2524) เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท, แหล่งที่มา : http://elib.fda.moph.go.th, 8 สิงหาคม 2561.
โอภา วัชระคุปต์, ปรีชา บุญจูง, จันทนา บุณยะรัตน์ และมาลีรักษ์ อัตต์สินทอง, 2549, สารต้านอนุมูลอิสระ, สำนักพิมพ์ พี.เอส.พริ้นท์, กรุงเทพฯ
อนันต์ อนันตโชติ, 2534, ไม้ไผ่ในประเทศไทยที่น่ารู้จัก, สำนักพิมพ์อักษรสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ.
อภิชาติ ชาไชย, น้ำไผ่บำบัดโรค!!กิมซุง “พืชเศรษฐกิจ”มาแรง ปี 2018, แหล่งที่มา : https://77kaoded.com, 8 สิงหาคม 2561.
Choi, M.H., Jo, H.G., Yang, Y.H., Ki, S.H. and Shin, H.J., 2018, Antioxidative and anti-melanogenic activities of bamboo stems (Phyllostachys nigra variety Henosis) via PKA/CREB-Mediated MITF down regulation in B16F10 melanoma cells, Int. J. Mol. Sci. 19: 1-18.
Gil-Izquierdo, A., Gil M.I. and Ferreres, F., 2002, Effect of processing techniques at industrial scale on orange juice antioxidant and beneficial health compounds, J. Agric. Food Chem. 50: 5107-5114.
Goyal, A.K., Middha, S.K. and Sen, A., 2010, Evaluation of the DPPH radical scavenging activity, total phenols and antioxidant activities in Indian wild Bambusa vulgaris “Vittata” methanolic leaf extract, J. Nat. Pharm. 1: 40-45.
Harakotr, B., Suriharn, B., Tangwongchai, R., Scott, M.P. and Lertrat, K., 2014, Anthocyanins and antioxidant activity in coloured waxy corn at different maturation stages, J. Funct. Foods. 9: 109-118.
Igual, E., García-Martínez, M., Camacho, M. and Martínez-Navarrete, N., 2011, Effect of thermal treatment and storage on the stability of organic acids and the functional value of grapefruit juice, Innov. Food Sci. Emerg. Technol. 12: 153-162.
Kubola, J., Siriamornpun, S. and Meeso, N., 2011, Phytochemicals, vitamin C and sugar content of Thai wild fruits, J. Agric. Food Chem. 126: 972-981.
Park, H.K., Lim, J.H., Kim, H.J., Choi, H.J. and Lee, I.S., 2007, Antioxidant flavone glycosides from the leaves of Sasa borealis, Arch. Pharm. Res. 30: 161-167.
Ohrnberger, D., 1999, The Bamboos of the World. 1st Ed., Elsevier Science B.V., Amsterdam.
Oaklander, M., Bamboo Water Is Now a Thing, Available Source: http://time.com/382188 6/bamboo-water/, May 18, 2017.
Shang, Y.F. Kim, S.M., and Um, B.H., 2014., Optimisation of pressurized liquid extraction of antioxidants from black bamboo leaves, Food Chem. 154: 164-170.
Xu, G.H., Chen, J.C., Liu, D.H., Zhang, Y.H., Jiang, P. and Ye, X.Q., 2008. Minerals, phenolic compounds, and antioxidant capacity of citrus peel extract by hot water, J. Food Sci. 73(1): C11-18.
Zhang, Y., Jiao, J., Liu, C., Wu, X. and Zhang, Y., 2008, Isolation and purification of four flavone C-glycosides from antioxidant of bamboo leaves by macroporous resin column chromatography and preparative high-performance liquid chromatography, Food Chem. 107: 1326-1336.