ปัจจัยที่ส่งผลต่อความความสำเร็จของเกษตรอินทรีย์ในชุมชนเกษตรกรรายย่อย จังหวัดนครสวรรค์

Main Article Content

สวรรค์ มณีโชติ
ดุสิต อธินุวัฒน์

Abstract

Abstract


This study aimed to study success impacts on organic farming in small farmer community, PGS organic lover group, Chum Ta Bong district, Nakhon Sawan province, who have passed participatory guarantee system (PGS) standard certification. The data were collected by questionnaire and in-depth interview. Questions included attitudes, knowledge of organic farming standard, organic farming standard practice problems, social factor and economic factor. Results showed that all the small farmers in PGS organic lover group gained more organic farming standard knowledge and certification system from training program and the best practice in the area. They did the best way for organic farming process in the farm followed national organic standard, Organic Thailand. They showed 93 % positive attitude to organic farming that could make the very good health for human and nature. Organic farming reduced the production cost. Even though, 40 % of their own land location was not suitable for organic farming, but the problem was solved under the standard frame. Social factor and economic factor highly supported 100 and 80 % of them to do organic farming for example using family labors. Moreover, family members and government agreed with doing organic farming. However, 40 % of them still need supporting from the government such as budget and organic production factors.


Keywords: PGS organic lover group; Chum Ta Bong; PGS; organic farming folk way; guarantee by the community

Article Details

How to Cite
มณีโชติ ส., & อธินุวัฒน์ ด. (2019). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความความสำเร็จของเกษตรอินทรีย์ในชุมชนเกษตรกรรายย่อย จังหวัดนครสวรรค์. Thai Journal of Science and Technology, 8(6), 596–608. https://doi.org/10.14456/tjst.2019.63
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

สวรรค์ มณีโชติ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ดุสิต อธินุวัฒน์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

กรมวิชาการเกษตร, การผลิตพืชอินทรีย์, แหล่งที่มา : http://it.doa.go.th/organic/index.html, 7 มีนาคม 2555.
จิรวรรณ เงาแก้ว, 2555, ความต้องการได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดเชียงใหม่, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
ณัชชา ลูกรักษ์, ดุสิต อธินุวัฒน์ และธีระ สินเดชารักษ์, 2558, ปัญหาและอุปสรรคในการปรับเปลี่ยนเพื่อการผลิตพืชผักอินทรีย์ของเกษตรกรจังหวัดราชบุรีที่ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์, Thai J. Sci. Technol. 2(2): 125-133.
ดุสิต อธินุวัฒน์, จินตนา อินทรมงคล, สมชัย วิสารทพงศ์, ปริญญา พรสิริชัยวัฒนา และลักษมี เมตปราณี, 2559, มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม คืออะไร?, Thai J. Sci. Technol. 5(2): 119-134.
นันทิยา หุตานุวัตร และมานัส ลอศิริกุล, 2550, ข้าวอินทรีย์ฤาจะแก้จน, โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
พนิดา ลีแสน, 2553, การยอมรับการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ : กรณีศึกษาการรับรองมาตรฐานข้าวอินทรีย์จากสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.
มูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทย, 2558ก, มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม, บริษัท คอมม่า ดีไซน์แอนด์พริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.
มูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทย, 2558ข, แนวทางการตรวจเยี่ยมฟาร์มเพื่อนในระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม, บริษัท คอมม่า ดีไซน์แอนด์พริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.
วริพัสย์ เจียมปัญญารัช, 2560, ปัจจัยที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของเกษตรกรอินทรีย์ของไทย : บทเรียนจากเกษตรกรรายย่อย, ว.สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 20: 199-215.
สรธรรม เกตตะพันธุ์, กฤติเดช อนันต์, ดุสิต อธินุวัฒน์ และลักษมี เมตปราณี, 2561, ผลของการใช้ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (พีจีเอส) ในชุมชนเกษตรอินทรีย์, Thai J. Sci. Technol. 7(4): 333-354.
โสมภัทร์ สุนทรพันธ์, 2552, การยอมรับการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ : กรณีศึกษาการรับรองมาตรฐานข้าวอินทรีย์จากสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, 2552, มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 9000 เล่ม1-2552 เกษตรอินทรีย์ เล่ม 1 : การผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจำหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ, 41 น.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, 2554, มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 9000 เล่ม 2-2554 เกษตรอินทรีย์ เล่ม 2 : ปศุสัตว์อินทรีย์, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ, 31 น.
อัจฉรา จิตต์สุข, 2559, แนวทางการส่งเสริมเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงรายเข้าสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, เชียงราย.
Basset-Mens, C. and van der Werf, H.M.G., 2005, Scenario-based environmental assessment of farming systems: The case of pig production in France, Agric. Ecosyst. Environ. 105: 127-144.
FAO/WHO Codex Alimentarius Commission, 2007, Guidelines for the Production, Processing, Labeling and Marketing of Organically Produced Foods, CAC/GL 32-1999, Rome.
Panjamlong, S., 2011, Research for the local and the strengthen of food security in the community, The Thailand Research Fund (TRF), Bangkok.