ผลของ NAA และ BA ต่อการพัฒนาของชิ้นส่วนแววมยุราที่เพาะเลี้ยงต่างกันในสภาพปลอดเชื้อ

Main Article Content

นนทกร พรธนะวัฒน์
ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์
ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์
ณัฐพงค์ จันจุฬา
นุชรัฐ บาลลา

Abstract

Abstract


Torenia is an ornamental plant that has received great interest in foreign countries because it can grow in many environments and bloom all year round, so it is favored to use as a garden plant and potted plant. At present, there is a study to develop new characters or new colors of Torenia. Tissue culture is a propagation method that can increase more plants in a short time and still protect the plants from insects and plant diseases. The aim of this study is to gain more background data about micropropagating of this plant using the plant growth regulators BA and NAA. Cotyledon, leaf and internode explants were cultured on ½ MS medium supplemented with NAA at concentrations ranging from 0.5-2.0 mg/L and ½ MS medium supplemented with 0.5 mg/L NAA and 0.5-2.0 mg/L BA. The number of calluses, shoots and roots were recorded after cultured for four weeks. The result showed that the explants of cotyledon, leaf and internode cultured on ½ MS medium supplemented with 2.0 mg/L NAA had the highest number of roots (15.83, 14.50 and 14.75 roots, respectively) and the biggest size of calluses (0.80, 0.92 and 0.83 cm, respectively). In addition, the explants of cotyledon, leaf and internode cultured on ½ MS medium supplemented with 0.5 mg/L NAA and 2.0 mg/L BA had the highest number of shoots (9.26, 9.41 and 8.31, respectively) and the biggest size of calluses (0.63, 0.66 and 0.69 cm, respectively). 


Keywords: cotyledon; leaf; internode; tissue culture

Article Details

How to Cite
พรธนะวัฒน์ น., เตชะศีลพิทักษ์ ธ., จารุวัฒนพันธ์ ท., จันจุฬา ณ., & บาลลา น. (2019). ผลของ NAA และ BA ต่อการพัฒนาของชิ้นส่วนแววมยุราที่เพาะเลี้ยงต่างกันในสภาพปลอดเชื้อ. Thai Journal of Science and Technology, 8(6), 642–649. https://doi.org/10.14456/tjst.2019.67
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

นนทกร พรธนะวัฒน์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ณัฐพงค์ จันจุฬา

ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เทคโนธานี ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 10220

นุชรัฐ บาลลา

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180

References

กรณ์ กรภัทร์ชัยกุล, 2559, การเกิดโซมาติกเอ็มบริ โอและยอดจากการเพาะเลี้ยงใบโตเต็มที่ของแววมยุรา, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 24(6): 942-951.
กรมส่งเสริมการเกษตร, 2546, การเพาะเลี้ยงเนื้อ เยื่อกับงานขยายพันธุ์พืช, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
จิราภรณ์ จิรานภาพันธุ์, 2550, ผลของการฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อการกลายพันธุ์ของแววมยุรา, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ชวนพิศ แดงสวัสดิ์, 2542, สรีรวิทยาพืช, สำนักพิมพ์พัฒนาการศึกษา กรุงเทพฯ.
ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, 2545, เขียนเรื่องดอกไม้ไว้อ่านเล่น 3 : จากฟาแลนนอพซิสถึงสแตติส, บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิซซิ่ง, กรุงเทพฯ
ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, เฌอมาลย์ วงศ์ชาวจันท์, อภิญญา สาตรา และณัฐพงค์ จันจุฬา, 2559, การชักนำให้เกิดเตตราพลอยด์ในแววมยุราลูกผสมและการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสัณฐานวิทยา, Thai J. Sci. Technol. 5(1): 56-66.
นภดล จรัสสัมฤทธิ์, 2541, ฮอร์โมนและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช, สำนักพิมพ์รั้วเขียว กรุงเทพฯ.
บุญยืน กิจวิจารณ์, 2547, เทคโนโลยีเบื้องต้นการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช, ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา, 2544, พรรณไม้เพื่อการตกแต่ง, บ้านและสวน, กรุงเทพฯ.
วราภรณ์ ภูตะลุน, 2557, เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อ เยื่อพืชสมุนไพร, บริษัท ขอนแก่นพิมพ์พัฒนา จำกัด, ขอนแก่น.
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์, 2544, สรีรวิทยาพืช, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สมพร ณ นคร, 2546, สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช, แผนกเอกสารการพิมพ์ วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, นครศรีธรรมราช.
Australian Government Department of Health, 2008, The Biology of Torenia spp. (Torenia), Department of Health and Ageing, Office of the Gene Technology Regulator, Australia.
Fischer, E., 2004, The Families and Genera of Vascular Plants, Volume VII, Kadereit, J.W. (Ed.), Springer-Verlag, New York.
Kanchanapoom, K., 2009, Micropropation through adventitious shoot regeneration from leaf culture of Torenia fournieri Lind., Songklanakarin J. Sci. Technol. 31(6): 587-590.
Kikuchi, S., Kishii, M., Shimizu, M. and Tsujimoto, H., 2005, Centromere-specific repetitive sequences from Torenia, a model plant for interspecific fertilization and whole-mount FISH of its interspecific hybrid embryos, Cytogen. Genome Res. 109: 228-235.
Moore, T.C., 1979, Biochemistry and Physiology of Plant Hormones, Springer-Verlag, New York, 274 p.
Murashige, T. and Skoog, F., 1962, A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue cultures, Physiol. Plant 15: 473-497.
Pierik, R.L.M, Steegmans, H.H.M, Elias, A.A., Stiekema, O.T.J. and van der Velde, A.J., 1988, Vegetative propagation of Syringa vulgaris L. in vitro, Acta Hort. 226: 195-201.
Tanimoto, S. and Harada, H., 1982, Studies on the initial of adventitious bud differentiation in Torenia stem segments culture in vitro, Biochemie und Physiology der Pflanzen 1982(177): 222-228.
Takeuchi, N., Tanimoto, S. and Harada, H., 1984, Effects of wounding on adventitious bud formation in Torenia stem segments cultured in vitro, J. Exp. Bot. 36: 841-847.