ผลของรังสีแกมมาต่อลักษณะสัณฐานในปทุมมาพันธุ์ลูกผสม

Main Article Content

ภคกุล วีระบริรักษ์
ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์
พัฒนา สุขประเสริฐ
อนันต์ พิริยะภัทรกิจ

Abstract

Acute gamma irradiation on Curcuma hybrid (Curcuma alismatifolia x Curcuma sparganifolia) was used to study on retarded shoots at the doses of 0, 10, 20, 30, 40 and 50 grays, followed by transferring the plants into greenhouse for growing. The results showed that exposure to gamma radiation caused reduction of plant growth. The relationship between concentration of gamma radiation and survival percentage was graphed to get LD50(30). It was found that 23 grays radiation resulted in 50 % survival after 30 days. The flower color of 2 plants treated with gamma ray at 20 grays was changed to pink (red-purple group 74C) and light pink (red-purple group 74D) compared to that of the control which was purple (red-purple group 70A). Higher doses reduced vegetative growth. The results of this study can be used as a guideline for the improvement varieties of Curcuma spp. by inducing gamma mutation. Gamma irradiation with more than 20 grays can induce morphological changes, such as flower bract.

Article Details

How to Cite
วีระบริรักษ์ ภ., เตชะศีลพิทักษ์ ธ., สุขประเสริฐ พ., & พิริยะภัทรกิจ อ. (2020). ผลของรังสีแกมมาต่อลักษณะสัณฐานในปทุมมาพันธุ์ลูกผสม. Thai Journal of Science and Technology, 9(2), 243–250. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.36
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

ภคกุล วีระบริรักษ์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

พัฒนา สุขประเสริฐ

ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

อนันต์ พิริยะภัทรกิจ

ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เทคโนธานี ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 10220

References

กรมวิชาการเกษตร, 2548, ยุทธศาสตร์การพัฒนางานวิจัยปทุมมา, แหล่งที่มา : http://www.doa.go.th/main, 14 พฤศจิกายน 2560.
ชุตินทร บูรณะกนิษฐ, 2532, การชักนำให้เบญจมาศกลายพันธุ์โดยใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับการฉายรังสี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ดวงจิต โตไทยะ, 2556, การใช้รังสีแกมมาชักนำให้หงส์เหินกลายพันธุ์ในสภาพเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
นพมณี โทปุญญานนท์, ศิริรัตน์ จงแสง, สินีธร สมสืบ และปวีณา นวมเจริญ, 2545, ระบบการผลิตต้นปทุมมาในสภาปลอดเชื้อในระดับอุตสาหกรรม, น. 14, ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 2, โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส, ขอนแก่น.
ปิ่นอนงค์ ลัคนานันทน์, 2552, การชักนำให้เกิดการกลายในสภาพปลอดเชื้อของหงส์เหินสีชมพูพันธุ์ป่าด้วยรังสีแกมมาร่วมกับโคลชิซีน, โครงการปัญหาพิเศษ, ภาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี
พีรนุช จอมพุก, ม.ป.ป., การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยการเหนี่ยวนำให้กลายพันธุ์, เอกสารประกอบการเรียน, ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วิชญา เยาวเรศเถกิงกิจ, 2546, ผลของรังสีแกมมาต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปทุมมา, ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ศรัญญู ถนิมลักษณ์, 2560, การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในบานไม่รู้โรยลูกผสมพันธุ์กลายโดยการฉายรังสีแกมมา, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สิรนุช ลามศรีจันทร์, บัวทิพย์ อุบอประเสริฐ, พีรนุช การีรส และวิทิต ผี่งกัน, 2539, การเหนี่ยวนําให้กลายพันธุ์ในเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงของขิงแดง(Alpinia purpurata), ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สิรนุช ลามศรีจันทร์, 2540, การกลายพันธุ์ของพืช, ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1, 2553, การผลิตปทุมมาเพื่อการส่งออก, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.
สุมนา กิจไพฑูรย์, 2528, การกลายพันธุ์ของบีโกเนียโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับการฉายรังสีแกมมา, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อรวรรณ มูลทองจาด, 2525, ผลของรังสีแกมมาที่มีต่อลักษณะบางประการของแกลดิโอลัส, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อรุณี วงศ์ปิยะสถิต, 2550, การกลายพันธุ์เพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อำไพ สินพัฒนานนท์, 2558, การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์, รายงานโครงการวิจัย, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.
Buiatti, M., Ragazzini, R. and Tognoni, F., 1965, Effecct of gamma irradiation on Gladiolus, Rad. Bot. 5: 97-98.
Lamseejan, S., Jompook, P., Wongpiyasatid, A., Kwanthammachart, P. and Meesat, R., 2001, Improvement of ornamental plants through induced mutation. pp.19-20, In FAO/IAEA Seminar on Mutation Techniques and Molecular Genetics for Tropical and Subtropical Plant Improvement in Asia and the Pacific Region, Makati.