อิทธิพลของการจัดการท่อนพันธุ์เนเปียร์ต่อการงอกของท่อนพันธุ์และผลผลิตของหญ้าเนเปียร์พันธุ์ปากช่อง 1 เพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์

Main Article Content

นพ ตัณมุขยกุล
จักรินทร์ ม่วงปั้น
ทรงยศ โชติชุติมา
สายัณห์ ทัดศรี
เอ็จ สโรบล

Abstract

This study aimed to determine influences of stem cutting pretreatment on stem cutting germination and grass dry matter yield of Napier grass cultivar Pakchong 1 for forage aspect. The experimental design was split plot design in Randomized complete block design with 4 replications. Main plot was how to keep the grass stem cutting cut to 4 types. Sub plot was how to plant the stem cutting cut to 3 patterns. The results showed that fresh stem cutting and the stem cutting kept in wet jute bag for 1 week, gave the germination at 83.33 and 78.33 percent, which were significantly higher (p < 0.05) than the stem cutting kept in transparent plastic bag for 2 weeks (50.83 percent). Moreover, the Napier grass from fresh stem cutting gave accumulated dry matter yield for 2 cycles of harvesting at 778.07 kg rai-1, which were higher (p < 0.05) than grass from storage in transparent plastic bag for 1 and 2 weeks stem cuttings that gave the accumulated dry matter yield at 591.66 and 515.46 kg rai-1. For accumulated protein yield, the grass from fresh stem cutting produced 98.22 kg protein rai-1 which was higher (p < 0.05) than the grass from storage transparent plastic bag for 1 and 2 weeks stem cuttings (73.09 and 62.84 kg protein rai-1). Meanwhile, the plant height, leaf stem ratio, hemicellulose, cellulose and lignin content were similar.

Article Details

How to Cite
ตัณมุขยกุล น., ม่วงปั้น จ., โชติชุติมา ท., ทัดศรี ส., & สโรบล เ. (2020). อิทธิพลของการจัดการท่อนพันธุ์เนเปียร์ต่อการงอกของท่อนพันธุ์และผลผลิตของหญ้าเนเปียร์พันธุ์ปากช่อง 1 เพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์. Thai Journal of Science and Technology, 9(3), 324–332. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.22
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

นพ ตัณมุขยกุล

ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

จักรินทร์ ม่วงปั้น

ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ทรงยศ โชติชุติมา

ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

สายัณห์ ทัดศรี

ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

เอ็จ สโรบล

ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

References

กระทรวงพลังงาน, 2555, การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสเชิงพาณิชย์, รายงานการวิจัย, สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน, กรุงเทพฯ, 409 น.
จวงจันทร์ ดวงพัตรา, 2529, เทคโนโยยีเมล็ดพันธุ์, พิมพ์ครั้งที่ 2, กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ.
นรวร ตรงกาวิน, ศิริพร หล้าแสน, ศิริลักษณ์ ดินเมืองชน, แสตมป์ ดีมี, ชื่นจิต แก้วกัญญา, ธีระยุทธ จันทะนาม และวัชรวิทย์ มีหนองใหญ่, 2562, การเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณค่าทางโภชนะการของหญ้าเนเปียร์ 3 สายพันธุ์ ที่ปลูกในสภาพดินลูกรัง, แก่นเกษตร 47(2) (พิเศษ): 187-194.
ประณต มณีอินทร์, 2558, ระยะเวลาการตัดหญ้าเขตร้อน 7 พันธุ์ ต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตชีวมวล และผลิตภาพก๊าซชีวภาพ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ประเสริฐ ฉัตรวชิรวงษ์, 2542, อ้อย (sugarcane), น. 270-295, ใน คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา, พืชเศรษฐกิจ, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สายัณห์ ทัดศรี, สุวะนารถ สุขะเกต และอภิพรรณ พุกภักดี, 2539, ผลผลิตและคุณภาพหญ้าเขตร้อนบางชนิด, ว. วิทย. กษ. 30: 293-302.
สายัณห์ ทัดศรี, 2547, พืชอาหารสัตว์เขตร้อน, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สายัณห์ ทัดศรี, 2548, หญ้าอาหารสัตว์และหญ้าพื้นเมืองในประเทศไทย, สำนักพิมพ์มหา วิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สำราญ วิจิตร และพรชัย ล้อวิลัย, 2554, อิทธิพลของอายุการตัดที่มีต่อผลผลิตและคุณค่าทางโภชนะของหญ้าเนเปียร์ยักษ์ภายใต้การให้น้ำชลประทาน, ว.วิจัย มข. 16(3): 215-224.
อำนาจ สีเห็มทอง, จักรพงษ์ ชายคง, อาณัติ จันทร์ถิระติกุล, ประนิดา ธรรมษา, วรรณนิษา วงค์ทหาร และทิพเนตร นาหนองตูม, 2560, ช่วงห่างเวลาการตัดหญ้าเนเปียร์ลูกผสมต่อผลผลติและองค์ประกอบทางเคมีเพื่อเป็นอาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยว, ว. วิทย. กษ. 48(2)(พิเศษ): 84-90.
Alcatara, P.B., 1986, Origin of Brachiaria and forage morphological characteristics of interest, pp.1-14, Meeting for Discussion on the Gender of the Brachiaria Grasses, Resumos Nova Odessa, Institute de Zootecnia.
AOAC, 2016, Guidelines for Standard Method Performance Requirements, AOAC International, Gaithersburg, M.D.
Erickson, L.C., 1946, Growth of tomato roots as influenced by oxygen in the nutrient solution, Ann. J. Bot. 33: 551-556.
Hagos, H., Mengistu, L., Kedir, Y. and Tesfamicheal, K., 2014, Effect of first irrigation period on sugarcane (Saccharum officinarum L.) establishment in the drought areas of Tendaho, Ethiopia, Adv. Crop Sci. Technol. 2(4): 142-145.
Lounglawan, P., Lounglawan, W. and Suksombat, W., 2014, Effect of cutting interval and cutting height on yield and chemical composition of King Napier grass (Pennisetum purpureum x Pennisetum americanum), APCBEE Procedia 8: 27-31.
Rebecca, E.H., Brown, L.K., Bengough, A.G., Valentine, T.A., White, P.J., Young, I.M. and George, T.S., 2013, Root hair length and rhizosheath mass depend on soil porosity, strength and water content in barley genotypes, Planta 239: 643-651.
Smart, A.J., Schacht, W.H. and Moser L.E., 2001, Predicting leaf/stem ratio and nutritive value in Grazed and Nongrazed Big Bluestem, Agron. J. 93: 1243-1249.
Tudsri, S. and Sawadipanich, S., 1993, Managerial approach to pasture production in Thailand, pp. 111-125, In Chen, C.P. and Satjipanon, C. (Eds.), Proceedings of the 3rd Meeting of RWG on Grazing and Feed Resources of Southeast Asia: Strategies for Suitable Forage-based Livestock Production in Southeast Asia, Khoan Kaen University, Khoan Kaen.