การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชครามสกุล Indigofera ด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน matK
Main Article Content
Abstract
The objective of this research was to sequence the nucleotides of matK gene in order to identify 15 samples of Indigofera plant. This is a fast, timesaving, and low-cost method. When comparing nucleotide sequences with data in NCBI database, 3 species of Indigofera, which are Indigofera tinctoria, Indigofera tinctoria var. arrecta, Indigofera caroliniana and Indigofera suffruticosa, were identified. But it was not able to specify species for the sample no. 13. The data were analyzed with ClustalW and made a phylogenetic tree using UPGMA by MEGA version X program. It was found that the Indigofera samples were divided into 2 groups with genetic differences in a range of 0.105-0.389. Therefore, nucleotide sequences of other genes should be used for more efficiency. The information obtained from this research can be applied in the conservation and breeding of Indigofera plant.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อความที่ปรากฏในแต่ละเรื่องของวารสารเล่มนี้เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เขียนต้องยืนยันว่าความรับผิดชอบต่อทุกข้อความที่นำเสนอไว้ในบทความของตน หากมีข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องใด ๆ
References
จุฑามาศ เจียมเจือจันทร์, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2561, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการระบุพันธุ์กล้วยไม้สกุลก้านก่อด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน matK และ rbcL, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 26(1): 91-102.
ณัฐพงษ์ ศรีสมุทร, กิตติศักดิ์ เฉนียง และอลงกลด แทนออมทอง, 2556, การระบุสายพันธุ์หน้าวัวโดยใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ด, แก่นเกษตร 44(1): 838-843.
ดนัย ชาทิพฮด, 2558, ผ้าย้อมคราม : การทำวัฒนธรรมให้กลายเป็นสินค้าในกระแสโลกาภิวัตน์, ว.ไทยศึกษา 10(2): 87-153.
ทีปกา มีเสงี่ยม, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2561, การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการระบุพันธุ์กล้วยไม้รองเท้านารีกลุ่มใบลายโดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน rbcL และ matK, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 26(1): 103-112.
ธีระชัย ธนานันต์, ศุภรัตน์ บัวบาน และนฤมล ธนานันต์, 2563, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชครามสกุล Indigofera ด้วยเทคนิคไอเอสเอสอาร์, Thai J. Sci. Technol. 9(3): 388-396.
นฤมล ธนานันต์, เกียรติชัย แซ่ไต่ และธีระชัย ธนานันต์, 2557, การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยไม้สิงโตกลอกตา หมู่สิงโตสยาม โดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนจำเพาะ, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22(4): 523-530.
นฤมล ธนานันต์, ฐิตาพร มณีเนตร, ภัทรพร คุ้มภัย และธีระชัย ธนานันต์, 2561, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการจำแนกกล้วยไม้สกุลหวาย หมู่แคลิสตา ด้วยลําดับนิวคลีโอไทด์ของยีน rpoC1 และ matK, Thai J. Sci. Technol. 7(1): 81-88.
นฤมล ธนานันต์, วิภาวรรณ ประสิทธิ์ และธีระชัย ธนานันต์, 2555, การจำแนกข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ปรับปรุงจากพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ด้วยเทคนิคแฮตอาร์พีดี, Thai J. Sci. Technol. 1(3): 169-179.
นฤมล ธนานันต์, ศุภรัตน์ บัวบาน และธีระชัย ธนานันต์, 2563, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชครามสกุล Indigofera โดยใช้เทคนิคสก๊อต, Thai J. Sci. Technol. 9(2): 333-341.
พรประภา ศิริเทพทวี, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2561, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการระบุชนิดกล้วยไม้รองเท้านารีกลุ่มใบสีเขียวด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน rbcL และ matK, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 26(1): 113-120.
ศุภรัตน์ บัวบาน, ธีระชัย ธนานันต์ และนฤมล ธนานันต์, 2563, การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชครามสกุล Indigofera ด้วยเทคนิคแฮตอาร์เอพีดี, Thai J. Sci. Technol. 9(3): 378-387.
อังคณา เทียนกล่ำ, 2556, ประสิทธิภาพของน้ำหมักใบครามต่อการเติบโต ผลผลิต และการควบคุมแมลงศัตรูในมะเขือเปราะ, J. Agric. 3: 249-256.
Doyle, J.J. and Doyle, J.L. 1987, A rapid DNA isolation procedure for small quantities of fresh Leaf Tissue, Phytochem. Bull. 19: 11-15.
Mattapha, S. and Chantaranothai, P., 2012, The genus Indigofera L. (Legumimosae) in Thailand, Trop. Nat. Hist. 12: 207-244.
Selvaraj D., Sarma R.K. and Sathishkumar R., 2008, Phylogenetic analysis of chloroplast matK gene from zingiberaceae for plant DNA barcoding, J. Biomed. Inform. 3: 24-27.