การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจำแนกกลุ่มการสำเร็จการศึกษาภายในสองปีและมากกว่าสองปีการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Main Article Content
Abstract
In this research, a comparative study of classifying efficiency in factors affecting the completion of master degree programs in the faculty of Science, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang was investigated in the academic year 2014-2018. The samples were drawn via stratified simple random sampling method, and the obtained data were analyzed using binary logistic regression and discriminant model and considered the percentage in the average accuracy classification. By the discriminant analysis, the percentages of accuracy classification in completion of master degree programs within two years (group 1), and more than two years (group 2) were 94.74 and 87.5 %, respectively, with the average of 89.55 %. These were higher than those by binary logistic regression analysis, which the percentages of accuracy classification were 81.58 and 82.29 %, respectively, with the average of and 82.09 %. The graduated faculty, studying time, studying performance, research methodology perception, and relationship between thesis advisor and student, were five independent variables, which significantly affected learning achievement of the graduates in the faculty of Science, by using equation
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อความที่ปรากฏในแต่ละเรื่องของวารสารเล่มนี้เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เขียนต้องยืนยันว่าความรับผิดชอบต่อทุกข้อความที่นำเสนอไว้ในบทความของตน หากมีข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องใด ๆ
References
กัลยา วานิชย์บัญชา, 2548, การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows, พิมพ์ครั้งที่ 4, บริษัท ธรรมสาร จำกัด, กรุงเทพฯ.
งานบัณฑิตศึกษา, 2560, หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ, 130 น.
บุญชม ศรีสะอาด, 2538, วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, สุวีริยาสาส์น, กรุงเทพฯ.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2539, เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้, ชมรมเด็ก, กรุงเทพฯ.
ศิริชัย กาญจนวาสี, 2548, การวิเคราะห์พหุระดับ, พิมพ์ครั้งที่ 3, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2554, แนวทางการทำวิทยานิพนธ์ให้ประสบความสำเร็จ, ว.มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 28(3): 98-101.
สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2556, แนวทางการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์, ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
อรสา สุทธิไสย, 2551, การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจําแนกกลุ่มโดยการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกทวิภาคและการวิเคราะห์จําแนกคาโนนิคอลในการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการสําเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
อุไรวรรณ อมรนิมิตร, 2546, การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Logistic Regression : ทางเลือกของการวิเคราะห์ความเสี่ยง, ว.วิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 3(2): 21-34.
Cochran, W.G., 1977, Sampling Technique, John Wiley and Sons, Caliornia.
Johnson, R.A. and Wichern, D.W., 1992, Applied Multivariate Statistical Analysis, 3rd Ed., Prentice-Hall International, Inc., Englewood Cliffs.