การประเมินความเป็นพิษของโลหะหนักระดับเซลล์ในกบนา (Hoplobatrachus rugulosa) บริเวณรอบพื้นที่ฝังกลบขยะอิเล็กทรอนิกส์

Main Article Content

พรภิไล ถนอมสงัด
รัชชุดา จันทร์ทรง
ลำใย ณีรัตนพันธุ์
สมบัติ อัปมระภา
บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล

Abstract

Abstract


The objective of this study was to investigate the concentrations of heavy metals (As, Pb, Cd, Cr, Cu, Fe, Mn, Ni and Zn) in water, soil and frog (Hoplobatrachu rugulosa) samples including chromosomal aberrations in H. rugulosa around electronic waste landfill area. Heavy metals were measured by using inductively coupled plasma optical emission spectrometry (ICP-OES). Assessment of chromosomal aberrations of H. rugulosa prepared from bone marrow. The concentrations of heavy metals in 6 water sample sites were found Pb in 3 water sample sites, Cd in 3 water sample sites, Cr in 1 water sample site, Cu in 3 water sample sites, Mn in 3 water sample sites, Ni in 2 water sample sites and Zn in 2 water sample sites that were all exceed the water standards. Total 23 soil sample sites around electronic waste landfill area were found As in 3 soil sample sites and Pb in 3 soil sample sites that were exceed the soil standards. The Pb concentration in 5 frog samples were exceeds the standard. The diploid chromosome number of H. rugulosa was 2n=26. There were 7 types of chromosomal aberrations of H. rugulosa around the electronic waste landfill including single chromatid gap (SCG), single chromatid break (SCB), isochromatid gap (ISCG), isochromatid break (ISCB), deletion (D), fragmentation (F), and centromere break (CB). The most common chromosomal aberration was SCG. The percentage of cells with chromosomal aberrations was 38.8 %. 


Keywords: electronic waste; heavy metal; chromosomal aberration; frog


 

Article Details

Section
Biological Sciences
Author Biographies

พรภิไล ถนอมสงัด

ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002

รัชชุดา จันทร์ทรง

ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002

ลำใย ณีรัตนพันธุ์

ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002

สมบัติ อัปมระภา

สถาบันวิจัยวลัยรุกเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล

ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002

References

[1] โมกข์ ตันติปาลกุล, 2559, สภาพการณ์ในการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐและประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร, ว.ระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ 2: 16-24.
[2] กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2557, แหล่งที่มา : http://www.pcd.go.th/public/News/Files/Draft580318-1.pdf, 1 กุมภาพันธ์ 2560.
[3] อรวรรณ พู่พิสุทธิ์ และศุลีพร แสงกระจ่าง, 2553, ความเป็นพิษของขยะอิเล็กทรอนิกส์, ว.พิษวิทยาไทย 25: 67-76.
[4] เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง, สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์, วลัยพร มุขสุวรรณ และสุภาวดี ประทุมชาติ, 2552, รายงานการศึกษาเชิงปฏิบัติการเบื้องต้นเพื่อศึกษาผลกระทบและแสวงหาแนวทางการจัดการขยะอย่างมีส่วนร่วม กรณีตำบลโคกสะอาด อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์, มูลนิธิเอเชีย (ประเทศไทย), กรุงเทพฯ, 132 น.
[5] Ha, N.N., Agusa, T., Ramu, K., Tu, N.P.C., Murata, S., Bulbule, K.A., Parthasaraty, P., Takahashi, S., Subramanian, A. and Tanabe, S., 2009, Contamination by trace elements at e-waste recycling sites in Bangalore, India, Chemosphere 76: 9-15.
[6] An, Y., Gao, Z., Wang, Z., Yang, S., Liang, J., Feng, Y., Kato, K., Nakano, M., Okada, S. and Yamanaka, K., 2004, Immunohisto-chemical analysis of oxidative DNA damage in arsenic related human skin sample from arsenic contaminated area of Chaina, Cancer Lett. 214: 11-18.
[7] Patra, M., Bhowmik, N., Bandopadhyay, B. and Sharma, A., 2004, Comparison of mercury, lead and arsenic with respect to genotoxic effects on plant systems and the development of genetic tolerance, Environ. Exp. Bot. 52: 199-223.
[8] วิโรจน์ นุตพันธ์, 2544, สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในประเทศไทย, สำนักพิมพ์บ้านและสวน, กรุงเทพฯ, 192 น.
[9] Ideriah, T.J.K., Harry, F.O., Stanley, H.O. and Igbara, J.K., 2010, Heavy metal contamination of soils and vegetation around solid waste dumps in Port Harcourt, Nigeria, J. Appl. Sci. Environ. Manage. 14: 101-109.
[10] อมรา คัมภิรานนท์, 2546, พันธุศาสตร์เซลล์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ, 308 น.
[11] Rooney, D.E., 2001, Human Cytogenetics: Constitutional Analysis: A Practical Approach, Oxford University Press, London, 282 p.
[12] สุจิตรา วาสนาดารงดี, 2558, สถานการณ์ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์, เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการ เรื่อง ขยะอิเล็กทรอนิกส์ : จัดการอย่างไรให้ปลอดภัย, สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 18 น.
[13] Guo, Y., Huang, C., Zhang, H. and Dong, Q., 2009, Heavy metal contamination from electronic waste recycling at Guiyu, Southeastern China, J. Environ. Qual. 38: 1617-1626.
[14] Luo, C., Liu, C., Wang, Y., Liu, X., Li, F., Zhang, G. and Li, X., 2011, Heavy metal contamination in soils and vegetables near an e-waste processing site, South China, J. Hazard. Mater. 186: 481-490.
[15] ปิยมาภรณ์ ดวงมนตรี, 2545, การสะสมโลหะหนักในสิ่งมีชีวิตผ่านลำดับขั้นการบริโภคในแหล่งน้ำ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น, 97 น.
[16] Salem, B.Z., Capelli, N., Ayadi, H. and Aleya, L., 2014, Seasonal variation of heavy metal in water, sediment and roach tissue in a landfill draining system pond, Ecol. Eng. 69: 25-37.
[17] Maret, W., 2016, The metals in the biological periodic system of the elements: Concepts and conjectures, Int. J. Mol. Sci. 17: 66-74.
[18] เมธา มีแต้ม, 2554, กลไกระดับเซลล์ในการลดพิษจากโลหะ, แหล่งที่มา : http://www.etm.sc.mahidol.ac.th/a18.shtml, 1 กุมภาพันธ์ 2560.
[19] ธวัช ดอนสกุล, 2550, คาริโอไทป์ของเซลล์ตับในสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 7 ชนิดที่พบในประเทศไทย, รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ, กรุงเทพฯ, 84 น.
[20] Goyer, R.A. and Moore, J.F., 1974 Cellular effects of lead, Adv. Exp. Med. Biol. 48: 447-462.
[21] Cestari, M.M., Lemos, P.M.M., Ribeiro, C.A.D., Costa, J., Pelletier, E., Ferraro, M.V.M., Mantovani, M.S. and Fenocchio, A.S., 2004, Genetic damage induced by trophic doses of lead in the neotropical fish Hoplias malabaricus (Characiformes, Erythrinidae) as revealed by the comet assay and chromosomal aberrations, Genet. Mol. Biol. 27: 270-274.
[22] สมศักดิ์ อินทมาต, 2559, การสะสมสารพิษของสารหนูที่มีต่อเซลล์สัตว์น้ำบริเวณรอบเหมืองแร่ทองคำ, วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น, 117 น.
[23] Suttichiya, A., Khammanichanh, A., Patawang, I., Sriuttha, M., Tanamtong, A. and Neeratanaphan, L., 2016, Chromosome aberrations of east asian bullfrog (Hoplobatrachus rugulosus) around a gold mine area with arsenic contamination, Environ. Asia 9: 60-69.
[24] Intamat, S., Phoonaploy, U., Sriuttha, M., Patawang, I., Tanomtong, A. and Neeratanaphan, L., 2016, Cytotoxic evaluation of rice field frogs (Fejervarya limnocharis) from gold mine area with arsenic contamination, Nucleus 59: 181-189.
[25] Irwin, R.J., 1997, Environmental Conta-minants Encyclopedia Chromium VI (Hexavalent Chromium) Entry, National Park Service, Colorado, 43 p.
[26] ฐิติยา แซ่ปัง, 2551, พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ, 188 น.
[27] พิมลพร พรมสิทธิ์, ลำใย ณีรัตนพันธุ์ และอลงกลด แทนออมทอง, 2557, การประเมินความผิดปกติของโครโมโซมปลาช่อน (Channa striata) ในแหล่งน้ำที่ได้รับผลกระทบจากน้ำชะมูลฝอย, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 10(ฉบับพิเศษ): 692-699.
[28] Phoonaploy, U., Intamat, S., Tengjaroenkul, B., Sriuttha, M., Tanamtong, A. and Neeratanaphan, L., 2016, Evaluation of abnormal chromosomes in rice field frogs (Fejervarya limnocharis) from reservoirs affected by leachate with cadmium, chromium and lead contamination, Environ. Asia 9: 26-38.